【ราคาบอลไหล1x2】จับตาไทย! ลุยพัฒนา ATMPs-สเต็มเซลล์ พลิกโฉมการแพทย์ เพิ่มโอกาสรักษาโรคร้ายแรง | เดลินิวส์
นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และหน่วยงานระดับกรมของกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกันลงนามประกาศเจตนารมณ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแพทย์ขั้นสูง (ATMPs) เพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงยา ATMPs ที่ได้มาตรฐาน ส่งเสริมเศรษฐกิจชีวภาพมูลค่าสูงเพื่อสร้างรายได้และเป็นศูนย์กลางบริการทางการแพทย์ของภูมิภาค
จับตาไทยลุยพัฒนาATMPsสเต็มเซลล์พลิกโฉมการแพทย์เพิ่มโอกาสรักษาโรคร้ายแรงเดลินิวส์
ด้วยในปัจจุบันมีการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง หรือ ATMPs ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ ยาที่มีตัวยาที่ออกฤทธิ์เป็นยีน สเต็มเซลล์ หรือเนื้อเยื่อ ซึ่งในต่างประเทศมีการวิจัยและประสบความสำเร็จอย่างมากมาย และผลิตภัณฑ์ดังกล่าวยังมีจุดเด่นที่มีการพัฒนาทางการแพทย์อย่างก้าวกระโดด เช่น ใช้รักษาโรคทางพันธุกรรมบางชนิดที่ไม่มียารักษาได้ หรือใช้รักษาโรคร้ายแรงที่ ผู้ป่วยผ่านการใช้ยาหรือวิธีการรักษาอื่นแล้วยังไม่สามารถรักษาให้หายได้ เป็นต้น โดยผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีมูลค่า 1 แสนถึง 1 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือ 3 – 30 ล้านบาท ต่อการรักษาแต่ละครั้ง
จับตาไทยลุยพัฒนาATMPsสเต็มเซลล์พลิกโฉมการแพทย์เพิ่มโอกาสรักษาโรคร้ายแรงเดลินิวส์
อย่างไรก็ดี ในปี 2567 ที่ผ่านมา ผลิตภัณฑ์ ATMPs มีขนาดตลาดถึง 2.28 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐฯ (Dimension market research) เพื่อให้ประเทศไทยมีผลิตภัณฑ์ ATMPs ที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล และสามารถต่อยอดความก้าวหน้าให้กับประเทศได้ จึงจำเป็นต้องเร่งรัดการพัฒนาโดยมีเป้าหมายปี 2568 ให้คนไทยและชาวต่างชาติ สามารถเข้าถึงยา ATMPs ในประเทศไทย ที่ได้มาตรฐานอย่างเหมาะสม ผ่านกลไกการอนุญาตวิจัย ยา
จับตาไทยลุยพัฒนาATMPsสเต็มเซลล์พลิกโฉมการแพทย์เพิ่มโอกาสรักษาโรคร้ายแรงเดลินิวส์
“ภายในปี 2569 ผลิตภัณฑ์ ATMPs ที่วิจัยและผลิตในประเทศผ่านการรับรองสู่ตลาดอย่าง น้อย 2 รายการ กระทรวงสาธารณสุข คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ เล็งเห็นถึงความสำคัญในการเร่งรัดการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ ATMPs ที่ได้มาตรฐาน คุ้มครองให้ ประชาชนได้มีโอกาสในการเข้าถึงยา ATMPs อย่างเป็นธรรมตามหลักจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน จึงได้ร่วมลงนามประกาศเจตนารมณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง หรือที่เรียกว่า ATMPs ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 เพื่อส่งเสริมการวิจัย การผลิตและการใช้ประโยชน์จาก ผลิตภัณฑ์ ATMPs ที่ได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงยาของผู้ป่วยตามหลัก จริยธรรมและสิทธิมนุษยชน และความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยตั้งเป้าหมาย เปิดบริการและวิจัยผลิตภัณฑ์ ATMPs ในพื้นที่ทดลองจำนวน 5 แห่ง ในสังกัดกรมการแพทย์ กรม ควบคุมโรค สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ควบคู่ไปกับการ จัดตั้งศูนย์บริการผลิตภัณฑ์ยา ATMPs แบบเบ็ดเสร็จ เพื่ออำนวยความสะดวกในการอนุมัติการ วิจัยและผลิตภัณฑ์ยา ATMPs ทั้งนี้คณะกรรมการฯ คาดว่าการดำเนินงานตามเจตนารมณ์นี้ จะช่วยสร้างเศรษฐกิจให้กับประเทศประมาณ 1,500 ล้านบาท/ต่อปี”..
จับตาไทยลุยพัฒนาATMPsสเต็มเซลล์พลิกโฉมการแพทย์เพิ่มโอกาสรักษาโรคร้ายแรงเดลินิวส์