【กดรับเอง】บทเพลงเป็นคีตศิลป์ จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา THE STANDARD
ตุลาคม 2567 เป็นเดือนครบรอบ 2 เหตุการณ์สำคัญของการเมืองไทย คือ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ครบรอบ 51 ปี ของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ครบรอบ 48 ปี ของเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
เพลงเป็นงานประพันธ์ดุจเดียวกับบทกวี ที่จำกัดการใช้ถ้อยคำให้กระชับ สั้น แต่ได้ใจความ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
จะเขียนเพลงให้ยาว 3 หน้ากระดาษ A4 เหมือนเขียนบทความนั้นหาได้ไม่ มันยาวเกินไป แม้เขียนออกมาก็ไม่มีใครอ่าน ไม่มีใครสนใจที่จะนำไปร้อง ไปบรรเลง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
เพลงจึงต้องใช้ตัวหนังสือไม่มาก เขียนอย่างกระชับสั้น เรียบเรียงด้วยภาษากวี ใส่ทำนองที่นวลเนียนไปกับเนื้อหา ก็สามารถสื่อและทำความเข้าใจ ขณะเดียวกันก็มีพลังสร้างสรรค์และสั่นสะเทือนอารมณ์
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
Screenshot
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นั้น การยึดอำนาจของจอมพล ถนอม กิตติขจร ที่ยกเลิกรัฐบาลเลือกตั้งของตนเองเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2514 นำประเทศไทยเข้าสู่เผด็จการเต็มรูปแบบอีกครั้ง ในขณะที่บ้านเมืองมีปัญหาเศรษฐกิจถึงขั้นประชาชนต้องเข้าคิวซื้อข้าวสาร ในทางการเมืองก็ถูกจำกัดเสรีภาพในการแสดงออก ด้วยประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 4 ซึ่งประชาชนชุมนุม 5 คน ก็ผิดกฎหมายแล้ว คนอีสานใช้คำเปรียบเทียบบรรยากาศเช่นนี้ว่า ‘ปากบ่ได้ ไอบ่ดัง’
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลายุคก่อน 14 ตุลาคม 2516
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
เมื่อเกิดกรณีล่าสัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรโดยใช้เฮลิคอปเตอร์ของทหาร มีการเปิดโปงฐานทัพสหรัฐอเมริกา 8 แห่ง ซึ่งใช้เป็นฐานของเครื่องบินทิ้งระเบิดในประเทศเวียดนาม และ สปป.ลาว
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
เกิดการลบชื่อนักศึกษา 9 คนออกจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง เพราะจัดพิมพ์วารสารที่มีถ้อยคำแสลงใจรัฐบาล, การเดินขบวนต้านทุจริตในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, การต่อต้านสินค้าญี่ปุ่น, การรณรงค์ใช้ผ้าดิบ ฯลฯ ท่ามกลางบรรยากาศเผด็จการ เป็นความตื่นตัวของเยาวชนคนหนุ่มสาว ที่สะท้อนภาพได้ด้วยบทกวี และบทเพลง ‘ดอกไม้’ ของจิระนันท์ พิตรปรีชา นิสิตจากจุฬาฯ เมื่อปี 2516 ว่า
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“ดอกไม้ ดอกไม้จะบาน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบริสุทธิ์กล้าหาญ จะบานในใจ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาสีขาว หนุ่มสาวจะใฝ่
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาแน่วแน่แก้ไข จุดไฟศรัทธา ”
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
บทกวีอันไพเราะและกินใจ ทำให้ วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ หัวหน้าวงดนตรีรุ่งอรุณของจุฬาฯ นำไปใส่ทำนองแบบง่ายๆ ที่นักร้องดังนำไปขับร้องกันแพร่หลาย
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ความหมายที่ลึกซึ้ง มีลักษณะเป็นตัวแทนแห่งยุคสมัย เป็นดอกไม้บานในใจคนหนุ่มสาวที่ลุกขึ้นต่อสู้กับเผด็จการ และเพรียกหาประชาธิปไตยในเวลาต่อมา
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลายุค 14 ตุลาคม 2516
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
การชุมนุมของนักศึกษาและประชาชนที่ปักหลักอยู่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งแต่ 8 ตุลาคม 2516 เรียกร้องให้รัฐบาลปล่อย 13 กบฏเรียกร้องรัฐธรรมนูญอย่างไม่มีเงื่อนไข แต่รัฐบาลกลับไม่ไยดี ซ้ำออกข่าวให้ร้ายผู้ชุมนุมอีก ทำให้มีการเคลื่อนขบวนคนนับแสนจากสนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ออกมานอกรั้วมหาวิทยาลัยสู่ถนนราชดำเนินในวันที่ 13 ตุลาคม 2516 ในเวลา 12.15 น.
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
จำนวนคนนับแสนจากธรรมศาสตร์ และประชาชนที่เข้ามาสมทบระหว่างทางอีก รวมแล้วประมาณว่าไม่ต่ำกว่า 5 แสนคน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ภาพการเคลื่อนขบวนที่แถวหน้าสุดเป็นนักเรียนอาชีวะที่พร้อมเผชิญกับระเบิด, ห่ากระสุน และแก๊สน้ำตา ตามด้วยขบวนแถวของนักศึกษาหญิงที่ถือธงชาติ และพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ตามด้วยมวลนักศึกษาและประชาชนที่เบียดเสียดกันเต็มพื้นที่ถนนราชดำเนินตลอดสายนั้นช่างอาจหาญงามสง่า จนกลายเป็นคำประพันธ์เพลง ‘หนุ่มสาวเสรี’ โดยใช้ทำนองเพลงไทยเดิมชื่อ ‘ลาวเฉียง’ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ‘ตับลาวเจริญศรี’
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
Screenshot
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
เพลงหนุ่มสาวเสรี
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา“(เกริ่น-แอ่วเคล้าซอ)
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาครานั้นนิสิตนักศึกษา
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบรรดานักเรียนทั้งเหนือใต้
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาสามัคคีประชาชนทั่วไป
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาลุกฮือขับไล่ทรชน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“(ลาวเฉียง)
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาคึกคักหนักแน่นดังแผ่นผา
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลากลมเกลียวแกล้วกล้าสดใส
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาฟันเฟือง ฟาดฟันบรรลัย
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลากนกห้าสิบให้ชีวิตพลี
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“(สร้อย)
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาเจ้าหนุ่มสาวเอย
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาเจ้าเคยแล้วหรือยัง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาตายเพื่อสร้าง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาตายเพื่อสร้างเสรี
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลามือเปล่าตีนเปล่าก้าวหน้า
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลายอมให้เข่นฆ่าไปเป็นผี
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาถือหลักศักดิ์สิทธิ์เสรี
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาพูดกันดีดีแล้วตั้งนาน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“(สร้อย)
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลากดขี่ข่มเหงคะเนงร้าย
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาเผด็จการก้าวก่ายเสียทุกด้าน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาชาวนาเป็นศพกบดาน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาชาวบ้านเป็นซากยากจน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“(สร้อย)
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลามือเปล่าตีนเปล่าห้าวหาญ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาแกว่งกระบองคลุกคลานกลางถนน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลานี่คือพลังของประชาชน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาทุกคนสืบเลือดบางระจัน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“(สร้อย)
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลามาเถิดมาสร้างเมืองใหม่
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาสร้างประเทศเราให้เป็นสวรรค์
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาใครมาข่มเหงรังแกกัน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาประชาชนเท่านั้นลุกฮือเอย (สร้อย)”
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ผลงานเพลง หนุ่มสาวเสรี ของวงต้นกล้า คำร้องของ สุจิตต์ วงษ์เทศ โดยมี รังสิต จงฌานสิทโธ เป็นนักร้อง ประกอบวงด้วย เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์, อานันท์ หาญพาณิชย์พันธ์, นิธินันท์ ยอแสงรัตน์ ฯลฯ ทำให้เพลงนี้บรรยายภาพคลื่นมหาประชาชนที่เคลื่อนขบวนอย่างห้าวหาญและสง่างาม เสียงระนาด, ขลุ่ย และซอ ที่ผสานด้วยทำนองเพลงอันรุกเร้าใจ จึงกลายเป็นบทเพลงแห่งประวัติศาสตร์อีกเพลงหนึ่งที่จารึกวีรกรรมนักศึกษาและประชาชนอย่างเฉพาะเจาะจงบนท้องถนนในวันนั้น ที่ทำให้ผู้ฟังรู้สึกเสมือนหนึ่งได้ร่วมบรรยากาศในเหตุการณ์ด้วย
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลายุค 6 ตุลาคม 2519
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
บรรยากาศประชาธิปไตยที่เปิดกว้างให้แก่การใช้สิทธิเสรีภาพ หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เกิดพลังผลักดันสำคัญทำให้รัฐธรรมนูญ 2517 มีการบัญญัติรองรับการรวมกลุ่มของผู้ใช้แรงงาน และบทบัญญัติให้รัฐต้องจัดบริการด้านสาธารณสุขให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง และเสียค่าใช้จ่ายน้อย
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ในขณะที่กรรมกร, ชาวนา และนิสิต นักศึกษา ผนึกเป็นพลังสามประสาน ต่อสู้เพื่อชีวิตความเป็นอยู่ของผู้เสียเปรียบในสังคม และต่อต้านการมีฐานทัพอเมริกาในประเทศไทย ที่คุกคามประเทศเพื่อนบ้าน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
การเผชิญหน้าระหว่างฝ่ายประชาชนกับชนชั้นนำในครั้งนั้นจบลงด้วยการจับกุมและสังหารหมู่นักศึกษาและประชาชน ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และที่สนามหลวง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาเพลง ‘จากภูพานถึงลานโพธิ์’ เป็นบทกวีของ วัฒน์ วรรลยางกูร ที่เตลิดเข้าป่าหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 เขาเขียนบทกวีนี้ในเขตจรยุทธที่อำเภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร เมื่อสุรสีห์ ผาธรรม ศิลปินนักสร้างหนังเรื่อง ‘ครูบ้านนอก’ เดินทางขึ้นภูพานไปสมทบ พอได้อ่านบทกวีนี้ เขาฮัมขึ้นมาเป็นทำนองเพลง กลายเป็นความลงตัวที่วงดนตรี 66 ของหน่วยศิลป์ในป่าเรียบเรียงเสียงประสานขึ้นมาอย่างมีพลัง โดยมี สหายฟา ยาดำ หรือชื่อจริง สรรเสริญ ยงสูงเนิน เป็นผู้ร้อง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
เพลงจากภูพานถึงลานโพธิ์
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา“ดินสอโดมธรรมศาสตร์เด่นสู้ศึก
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาได้จารึกหนีเลือดอันเดือดดับ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา6 ตุลาเพื่อนเราล่วงลับ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลามันแค้นคับเดือดระอุอกคุไฟ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาเรามีเพียงมือเปล่ามันล้อมกราด
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาระเบิดบาปกระสุนบ้ามาสาดใส่
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาเสียงเหมือนแตรงานศพซบสิ้นใจ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาสนามหญ้าเคล้ากลิ่นไอคาวเลือดคน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลามันตามจับตามฆ่าล่าถึงบ้าน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาเข้าประหารจับเข้าคุกทุกแห่งหน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาเราอดทนถึงที่สุดก็สุดทน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาจึงเปลี่ยนหนทางสู้ขึ้นภูพาน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“อ้อมอกภูพานคือชีวิตใหม่
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาคือมหาวิทยาลัยคนกล้าหาญ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาจะโค่นล้มไล่เฉดเผด็จการ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาอันธพาลอเมริกาอย่าหวังครอง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาสู้กับปืนต้องมีปืนยืนกระหน่ำ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาพรรคชี้นำตะวันแดงสาดแสงส่อง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาจรยุทธนำประชาสู่ฟ้าทอง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลากรรมาชีพลั่นกลองอย่างเกรียงไกร
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“ในวันนี้ลานโพธิ์ธรรมศาสตร์อาจเงียบหงอย
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาก็เพียงเพื่อรอคอยสู่วันใหม่
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาวันกองทัพประชาชนประกาศชัย
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาจะกลับไปกรีดเลือดพาลล้างลานโพธิ์”
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
เพลงจากภูพานถึงลานโพธิ์ เป็นเส้นแบ่งประวัติศาสตร์ที่จารึกว่าการสังหารโหด 6 ตุลาคม 2519 นำไปสู่การเคลื่อนขบวนนักศึกษาและเยาวชนจากเมืองเข้าสู่เขตป่าเขาที่ต่อต้านอำนาจรัฐ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
Screenshot
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลายุคคืนรัง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ชูเกียรติ ฉาไธสง บันทึกไว้ในหนังสือ กำเนิดในยามพระเจ้าหลับไหล เส้นทางและวิถีของ ‘หงา คาราวาน’ ตำนานมีชีวิต ว่า เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2525 ในงาน CONCERT FOR UNICEF หงาและเพื่อนร่วมวงเตรียมพร้อมอยู่หลังผ้าม่านผืนใหญ่บนเวทีหอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อันเป็นเสมือนบ้านเก่าของพวกเขา ขณะที่พิธีกรสาวชื่อดัง จันทรา ชัยนาม กล่าวเชิญชวน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“ขอเชิญพบกับวงคาราวานค่ะ”
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
คนดูแน่นขนัดล้นหอประชุม ปรบมือกระหึ่ม ต้อนรับการคืนสู่เวทีธรรมศาสตร์อย่างอบอุ่น ม่านค่อยๆ รูดเปิดออก แสงสปอตไลท์ต์สาดลงมาจนนัยน์ตาพร่าไปชั่วขณะ แล้วพยางค์แรกในมือหงาก็กรีดกังวาน ตามด้วยเสียงร้อง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“โอ้ยอดรัก ฉันกลับมาจากขอบฟ้าที่ไกลแสนไกล
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาจากโคนรุ้งที่เนินไศล
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาจากใบไม้หลากสีสัน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาฉันเหนื่อย ฉันเพลีย ฉันหวัง ”
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
เพียงท่อนแรกของเพลง ด้วยสุ้มเสียงอันเป็นเอกลักษณ์ที่ทุกคนจำได้ สะกดให้ผู้คนในหอประชุมสะอื้น ไม่อาจกลั้นน้ำตาไว้ได้
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ลองคิดดูเถิดว่าสี่สหายที่พวกเขาคุ้นเคยแห่งวงดนตรี ท.เสนและสัญจร หรือชื่อ คาราวาน ในเวลาต่อมา ได้แก่
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาหงา-สุรชัย จันทิมาธร กีตาร์ และร้องนำหว่อง-มงคล อุทก พิณ, ฮาร์โมนิกา และโหวดอืด-ทองกราน ทานา ไวโอลิน, กีตาร์ และกลองแดง-วีระศักดิ์ สุนทรศรี กีตาร์บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ทั้ง 4 คนที่ประกอบวงกันมาแต่แรกเริ่มเข้าป่าและคืนเมืองมากันครบ ไม่มีใครตกหล่น หลังจากที่ห่างหายจากเมืองไปนานกว่า 5 ปี ได้มาร่วมวงกันใหม่ในแบบอะคูสติก เปิดแสดงสดเพลง ‘คืนรัง’ โดยไม่ได้เข้าห้องอัดเสียงมาก่อน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“ฝากชีวิตให้เธอเก็บไว้
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาฝากดวงใจให้นอนแนบรัง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาฝากดวงตาและความมุ่งหวัง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาอย่าชิงชังฉันเลยยอดรัก”
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ลีลาเพลงที่หวาน เศร้า และพลิ้วไหว อ้อยสร้อยด้วยเสียงไวโอลินของทองกราน ประสานกับเสียงพิณอันเสนาะเหมือนอยู่ในบรรยากาศแห่งพงไพร เสียงพร่ำถึงอดีตที่ฝากชีวิต ฝากดวงใจ ฝากดวงตา ยิ่งชวนให้ทุกคนในห้องประชุมสะเทือนใจ
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
“นานมาแล้วเราจากกัน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาโอ้คืนวันนั้นแสนหน่วงหนัก
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาดั่งทุ่งแล้งที่ไร้เพิงพัก
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาดั่งภูสูงที่สูงสุดสอย
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาโอ้ยอดรัก ฉันกลับมา
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาดังชีวาที่เคยล่องลอย
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลามาบัดนี้ที่เราเฝ้าคอย
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาเจ้านกน้อยโผคืนสู่รัง
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาฉันเหนื่อย ฉันเพลีย ฉันหวัง ”
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
ท่วงทำนองและเนื้อหาเพลงคืนรังในค่ำวันนั้นเป็นตัวแทนอารมณ์ความรู้สึกทั้งหมด ของอดีตสหายในหอประชุมวันนั้น เป็นประสบการณ์แห่งอารมณ์ห่วงหาอาทร เป็นชะตากรรมร่วมที่อดีตสหายล้วนผ่านพบมาด้วยกัน
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
เพลงคืนรังจึงเป็นปากคำประวัติศาสตร์แห่งยุคสมัยที่สะท้อนกระแสจากป่าคืนเมืองของนักศึกษาและประชาชนในช่วงปี 2524-2526 ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 66/2523 ลงนามโดย พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ที่ต้องการใช้นโยบายการเมืองนำทหาร หลังจากที่นักศึกษาและประชาชนกว่า 3,000 คน เดินทางเข้าป่าร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
มันไม่เพียงก่อเกิดพลังร่วมทางอารมณ์เท่านั้น แต่เพลงคืนรังเป็นปากคำประวัติศาสตร์ของสังคมไทย ที่จารึกว่าในยุคหนึ่งนั้นเรามีบทเรียนร่วมกันว่าความไม่เป็นธรรมและการข่มเหงรังแกนำไปสู่การต่อสู้อย่างรุนแรง และยังได้บทเรียนบทต่อมาอีกว่า สำหรับสังคมไทยแล้ว การต่อสู้แบบเลือดต้องล้างด้วยเลือดเป็นหนทางที่นำไปสู่ความพ่ายแพ้ด้วยกันทุกฝ่าย ความเชื่อต่อลัทธิ-อุดมการณ์ทางการเมือง ทำให้เกิดความแตกร้าวมากกว่าจะเกิดสันติธรรม
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาบทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลา
การแบ่งขั้วแยกข้างแล้วใส่ฟืนเติมไฟลงไป จะด้วยความตั้งใจหรือไม่ก็ตาม มีแต่จะทำให้สังคมแตกร้าวกันหนักหน่วงยิ่งขึ้น
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาเพลงคืนรังอาจน้อมนำให้สังคมไทยช่วยกันคิดหรือไม่ว่า ขนาดสงครามประชาชนที่ต่อสู้กันมาแบบถึงเลือดถึงเนื้ออย่างยืดเยื้อยาวนานเกือบ 20 ปีนั้น ยังสามารถยุติได้โดยไม่ต้องเจรจาหยุดยิง ไม่ต้องมีใครมาทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย และไม่ต้องทำสัญญาสงบศึก นี่คือคุณสมบัติสุดแสนจะวิเศษของสังคมไทยโดยแท้
บทเพลงเป็นคีตศิลป์จารึกประวัติศาสตร์คนเดือนตุลาTAGS: การเมืองไทย