【กลยุทธ์เด็ดเสพติดรักภรรยาของผม】ฝีมือไทยน่าต่อยอด ‘วัดแรงธรณีไหว’ ใช้ชี้..หนี?-หมอบ? | เดลินิวส์
แผ่นดินไหว 28 มี.ค.ที่ผ่านมาทำให้คนไทย “อกสั่นขวัญผวา” กันมาก ซึ่ง “ข้อเสนอ” ที่อยากให้ไทยเร่ง “ติดตั้งเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้น” แม้จะดูเป็น “แนวทางล้อมคอก” กระนั้น ก็มีนักวิชาการเสนอแนวคิดนี้
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์เพื่อช่วย “ฟื้นฟูความเชื่อมั่นคนไทย”
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์เพื่อ “ให้นอนหลับได้เต็มตามากขึ้น”
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์เกี่ยวกับ “ข้อเสนอ” ให้ไทย “ติดตั้งเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวเพิ่มเติม” จากที่มีอยู่ ที่ “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” จะสะท้อน ณ ที่นี้ เป็นหนึ่งในแนวทางที่ถูกเสนอไว้ในเวที “ก้าวข้ามธรณีพิโรธ : นวัตกรรม วช. พลิกเกมภัยแผ่นดินไหว เพื่ออนาคตที่ปลอดภัยของไทย” เมื่อเร็ว ๆ นี้เวทีถอดบทเรียนกรณีแผ่นดินไหวในกรุงเทพฯซึ่งเพิ่งเกิดขึ้นสด ๆ ร้อน ๆ โดยมีนักวิจัย นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ มาร่วมกันถ่ายทอดมุมมองต่าง ๆ รวมถึงเสนอแนวทางต่าง ๆ เพื่อให้ไทยพร้อม “รับมือภัยพิบัติ” ในอนาคต โดยเฉพาะกับ “ภัยแผ่นดินไหว”ที่หนึ่งใน “ข้อเสนอน่าสนใจ” คือการเสนอให้ติดตั้งเครื่องมือวัดแผ่นดินไหวเพิ่มเติม โดยที่ปัจจุบัน คนไทยสามารถพัฒนา “เครื่องวัดแรงสั่นสะเทือน” ขึ้นมาใช้งานได้เองแล้ว ในราคาประหยัด
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์ก็น่าจะเป็น “หนึ่งในทางเลือก”
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์เพื่อ “ให้ทุกพื้นที่ทั่วไทยมีเครื่องนี้”
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์ในฐานะ “เครื่องมือพื้นฐานต้านภัย”
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์
รศ.ดร.ธีรพันธ์ อรธรรมรัตน์
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์สอดรับกับแนวคิดดังกล่าวนี้ ทาง รศ.ดร.ธีรพันธ์ อรธรรมรัตน์ นักวิชาการ ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นักวิจัยโดยทุนสนับสนุนจาก วช. ผู้คิดค้นพัฒนานวัตกรรม “อุปกรณ์ตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวราคาประหยัด” ซึ่งเป็นผลงานร่วมกับ กรมอุตุนิยมวิทยา ระบุถึงอุปกรณ์ดังกล่าวนี้ว่า เกิดจากโจทย์ที่พื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยมักเผชิญเหตุแผ่นดินไหวบ่อย ๆ จึงได้คิดค้นอุปกรณ์ตรวจจับแรงสั่นสะเทือนในอาคารขึ้นมา ด้วยต้นทุนที่ประหยัดกว่าอุปกรณ์ของต่างประเทศ เพื่อให้คนไทยเข้าถึงอุปกรณ์นี้ได้ง่ายขึ้น
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์ทั้งนี้ สำหรับ อุปกรณ์ตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวฝีมือคนไทยดังกล่าวนี้ รศ.ดร.ธีรพันธ์ ได้ให้ข้อมูลไว้อีกว่า เทียบกับของต่างประเทศทั้งในแง่ประสิทธิภาพ และวัตถุประสงค์การใช้งาน ถือว่าของไทยมีราคาที่ประหยัดกว่า จากเดิมที่แต่ก่อนหากจะใช้งานเครื่องมือนี้ก็ต้องซื้อมาทั้งชุดจากต่างประเทศ ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ซึ่งมีราคาอยู่ที่ประมาณ 3 แสนบาท อีกทั้งจะมีเรื่องของค่าแรงในการติดตั้งอุปกรณ์อีก ทำให้ทางทีมวิจัยจึงนำโจทย์นี้มาพัฒนาเครื่องมือขึ้นเอง จนปัจจุบันสามารถผลิตขึ้นมาใช้งานได้เองในราคาแค่หลักหมื่นบาท นี่เป็นข้อมูลที่มา “เครื่องวัดแรงสั่นสะเทือน” ที่ว่านี้ ที่
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์“คนไทยสามารถพัฒนาขึ้นใช้ได้เอง”
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์
และ รศ.ดร.ธีรพันธ์ ยังอธิบายไว้ถึงการทำงานของอุปกรณ์นี้ว่า เครื่องมือนี้สามารถจับการสั่นสะเทือนได้แบบเรียลไทม์ โดยเมื่อตอนที่เริ่มนำร่องติดตั้งในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ หลังติดตั้งเสร็จไม่นานก็เกิดแผ่นดินไหวที่เชียงใหม่ ซึ่งเครื่องมือนี้ก็ส่งสัญญาณรับรู้ถึงแรงสั่นสะเทือนมาที่นักวิจัยทันที ซึ่งเมื่อเครื่องจับแรงสั่นสะเทือนได้ก็จะส่งสัญญาณมาที่ทีมหลังบ้าน ทางทีมหลังบ้านจะทำการประมวลผล และให้ข้อมูลแก่วิศวกรประจำอาคารที่ติดตั้งเครื่องมือนี้ เพื่อให้วิศวกรของอาคารมีข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประเมินอันตรายภายใน 20 นาที ซึ่ง กับแผ่นดินไหวล่าสุดเครื่องนี้ก็มีบทบาทสำคัญ ด้วย
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์“ก็ไม่คิดว่าการลงทุนจะคืนผลเร็วขนาดนี้ เพราะวันนั้นเราก็เป็นหนึ่งในผู้ประสบภัยด้วย โดยเมื่อเกิดแผ่นดินไหวที่เมียนมา เครื่องก็รับสัญญาณได้ทันที และแจ้งเตือนมาที่มือถือ ซึ่งปรากฏค่าสูงมาก จึงตัดสินใจอพยพคนออกจากอาคารไว้ก่อนเพื่อความปลอดภัย ซึ่งเหตุการณ์นี้ให้คำตอบทีมงานเราทุกคนว่า เครื่องนี้ใช้ช่วยชีวิตคนได้จริง ๆ” ทาง รศ.ดร.ธีรพันธ์ พูดถึงเหตุแผ่นดินไหวล่าสุดที่เกิดขึ้น ที่บ่งชี้คำตอบสำคัญให้กับทีมวิจัยอุปกรณ์ดังกล่าว
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์ทั้งนี้ อุปกรณ์นี้ ที่มีชื่อว่า “เครื่องวัดแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวราคาประหยัด” เป็นผลงานพัฒนาร่วมกันของภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กับกรมอุตุนิยมวิทยา โดยมี รศ.ดร.ธีรพันธ์ อรธรรมรัตน์ เป็นหัวหน้าโครงการ ซึ่ง อุปกรณ์นี้เป็นเซนเซอร์ตรวจวัดอาคาร ที่ใช้วัดค่าต่าง ๆ อาทิ ค่าความเร่ง และค่าความสั่นสะเทือน เมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยเมื่อเซนเซอร์รับค่าได้ก็จะแจ้งเตือนไปยังระบบ เพื่อให้ข้อมูลกับผู้ดูแลอาคารหรือวิศวกรอาคาร เพื่อ ใช้เป็นข้อมูลแจ้งเตือนผู้ใช้อาคารเมื่อมีแผ่นดินไหว ว่าต้องหนีออกจากอาคารหรือไม่??
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์“เครื่องนี้ลดต้นทุนนำเข้า จากหลักแสนเหลือเพียงหลักหมื่น ทำให้คนทั่วไปเข้าถึงได้ ซึ่ง นอกจากจะลดความสับสนผู้คนขณะเกิดเหตุ ยังช่วยลดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากอาคารโดยไม่จำเป็น เนื่องจากแผ่นดินไหวที่รับรู้ได้บนอาคารสูงไม่ได้ทำให้อาคารเสียหายทุกครั้ง” นี่เป็นข้อดี “อุปกรณ์วัดแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว” ที่ว่านี้
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์น่าสนใจ “น่าหนุนให้ติดตั้งแพร่หลาย”
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์เพราะ “แผ่นดินไหวก็ใกล้ตัวคนไทย”
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์ก็ “ดังที่เพิ่งขวัญหนีดีฝ่อกันถ้วนทั่ว!!”.
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
ฝีมือไทยน่าต่อยอดวัดแรงธรณีไหวใช้ชี้หนีหมอบเดลินิวส์