【ทางเข้า ufabet1688 มือถือ】ทำไมรัฐบาลใหม่ของทรัมป์ เตรียมยุบกระทรวงศึกษา เปลี่ยนถ่ายจัดการสู่ท้องถิ่น | เดลินิวส์
ไม่นานมานี้ เมื่อโดนัลด์ ทรัมป์ ชนะการเลือกตั้ง มีข่าวลือว่าอเมริกาจะมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ เช่นการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานภาครัฐ ลดจำนวนข้าราชการและเจ้าหน้าที่รัฐ เพื่อลดการซํ้าซ้อน ล่าช้าของระบบราชการ และที่สำคัญมีข่าวว่าจะยุบกระทรวงศึกษา เหตุผลที่จะยุบกระทรวงศึกษา หรือลดขนาด เพื่อจัดทัพใหม่ มีดังนี้
ทำไมรัฐบาลใหม่ของทรัมป์เตรียมยุบกระทรวงศึกษาเปลี่ยนถ่ายจัดการสู่ท้องถิ่นเดลินิวส์1.ความเชื่อที่ว่าท้องถิ่น ชุมชนแต่ละแห่งทราบความต้องการของการพัฒนาคนของตนเองได้ดีกว่า การแทรกแซง และจัดการจากส่วนกลางจึงซํ้าซ้อนไม่ตอบโจทย์ท้องถิ่น และงบประมาณใช้ไม่ถูกที่
ทำไมรัฐบาลใหม่ของทรัมป์เตรียมยุบกระทรวงศึกษาเปลี่ยนถ่ายจัดการสู่ท้องถิ่นเดลินิวส์2.ลดขั้นตอนระบบราชการ ซึ่งสร้างปัญหาเรื่องขั้นตอน ความล่าช้า ซํ้าซ้อน ขาดประสิทธิภาพ และการสิ้นเปลืองงบประมาณที่ไม่จำเป็น ที่สำคัญลดโอกาสที่จะเกิดการทุจริตคอร์รัปชันลงได้มาก
ทำไมรัฐบาลใหม่ของทรัมป์เตรียมยุบกระทรวงศึกษาเปลี่ยนถ่ายจัดการสู่ท้องถิ่นเดลินิวส์3.สร้างความเข้มแข็งให้ท้องถิ่น งบประมาณจะได้ทุ่มเทไปยังเป้าหมาย และความสำคัญเร่งด่วนของท้องถิ่น
ทำไมรัฐบาลใหม่ของทรัมป์เตรียมยุบกระทรวงศึกษาเปลี่ยนถ่ายจัดการสู่ท้องถิ่นเดลินิวส์4.ง่ายต่อการติดตาม ประเมินผล และมีผู้รับผิดรับชอบที่แท้จริง ระบบเดิมมักจะหาผู้รับผิดชอบไม่ได้ เกี่ยงกันไปมา อ้างเรื่องนโยบายจากส่วนกลาง และการปฏิบัติที่ท้องถิ่นไม่สอดคล้องกัน
ทำไมรัฐบาลใหม่ของทรัมป์เตรียมยุบกระทรวงศึกษาเปลี่ยนถ่ายจัดการสู่ท้องถิ่นเดลินิวส์5.ถ้ายุบกระทรวงศึกษาส่วนกลางได้ คาดว่าจะเกิดนวัตกรรมการศึกษาใหม่ ๆ มากมาย Start Up ที่ช่วยพัฒนาการศึกษาจากภาคเอกชนจะมีบทบาทมากขึ้น จะเป็นโอกาสทางนวัตกรรมการศึกษาครั้งใหญ่
ทำไมรัฐบาลใหม่ของทรัมป์เตรียมยุบกระทรวงศึกษาเปลี่ยนถ่ายจัดการสู่ท้องถิ่นเดลินิวส์6.พัฒนาโรงเรียนทางเลือก “School Choice” ที่รัฐบาลทรัมป์ เชื่อว่าเมื่อลดบทบาทกระทรวงศึกษาส่วนกลาง แล้วส่งเสริมให้ชาวบ้าน ชุมชน และเอกชนท้องถิ่นมีบทบาท และมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการจัดการการศึกษาให้ลูกหลานของเขา การศึกษาของสหรัฐอเมริกาจะพัฒนาอย่างก้าวกระโดด ไม่เป็นอนุรักษนิยมแบบเดิม ๆ
ทำไมรัฐบาลใหม่ของทรัมป์เตรียมยุบกระทรวงศึกษาเปลี่ยนถ่ายจัดการสู่ท้องถิ่นเดลินิวส์เชื่อว่าไม่ใช่อเมริกาเท่านั้นที่คิดแบบนี้ ผมเคยได้ยินนักวิชาการไทย และนานาชาติเล่าความคิดคล้าย ๆ แบบนี้ จากงานวิจัย
ต่าง ๆ คล้าย ๆ กัน เรื่องนวัตกรรมการศึกษาที่มีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสียต่าง ๆ การเรียนรู้ตามความต้องการของแต่ละบุคคล แต่ละช่วงวัยที่ไม่เหมือนกัน โรงเรียนทางเลือกต่าง ๆ ที่มีมาตรฐานสูง และการลดบทบาทการจัดการจากส่วนกลาง เพิ่มความสามารถท้องถิ่น อเมริกานับหนึ่งแล้ว ไทยเราถึงเวลาคิดเรื่องนี้กันจริงจังหรือยัง.