【ทีเด็ด บอลเต็ง100】‘ยังอึ้ง!!’แม้โลกก้าวล้ำ ‘โรคปริศนา??’ สะท้อนย้ำ‘แง่(น่า)คิด’ | เดลินิวส์
โรคกลุ่มดังกล่าวนี้ ที่ปรากฏเป็นข่าวและอยู่ในความสนใจของผู้คน ก็เช่นเคสหญิงวัย 51 ปีที่เกิด “มีติ่งเนื้อขนาดใหญ่เท่าลูกฟุตบอลที่ขา” ซึ่งเคสนี้แพทย์ระบุสาเหตุว่าเกิดจาก โรคน้ำเหลืองอุดตัน ขณะที่อีกเคสที่เบื้องต้นระบุสาเหตุและชื่อโรคไม่ได้คือเคสหญิงวัย 52 ปี ที่มีอาการ “ผิวหนังพุพองหลุดล่อน” โดยเคสตัวอย่างดังกล่าวหลายคนที่ได้ทราบข่าวก็อึ้งกับการเป็น “โรคแปลก โรคประหลาด”
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์โลกนี้มี “โรคหายาก โรคปริศนา” อื้อ!!
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์โดยที่ “ในไทยเราก็ปรากฏโรคกลุ่มนี้”
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์เกี่ยวกับ “โรคแปลก-โรคประหลาด-โรคปริศนา” นั้น แม้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการแพทย์จะก้าวหน้าก้าวไกลมาก แต่จนถึงวันนี้ก็ต้องยอมรับว่า วิทยาศาสตร์การแพทย์ก็ยังไม่อาจพบคำตอบได้ทั้งหมด โดยยังคง มีอีกหลายชนิดของโรคและมากมายหลายอาการป่วยที่ยังต้องศึกษาค้นคว้าวิจัยไขปริศนาซึ่งกับกรณี “โรคชวนอึ้ง” นี่ทาง “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” ก็ได้สะท้อนต่อข้อมูล-สะท้อนคำอธิบายจากทางแพทย์อยู่เป็นระยะ ๆ โดยวันนี้ก็ขอพลิกแฟ้มนำเสนอส่งท้ายปี 2567 ว่า โลกนี้ยังมีโรคปริศนามากมาย ยังมีผู้ที่ป่วยด้วยโรคประหลาดจำนวนมาก ดังนั้น “อย่าประมาทเรื่องสุขภาพ”
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์ทั้งนี้ โรคกลุ่มนี้ ศ.พญ.ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เคยอธิบายให้ความรู้ประชาชนไว้ผ่านเว็บไซต์ med.mahidol.ac.th หลักใหญ่ใจความมีว่า “โรคหายาก” นั้นบางครั้งก็เรียกว่า “โรคกำพร้า (Orphan disease)”ซึ่งหมายถึงโรคที่พบได้น้อยหรือมีความชุกของโรคต่ำกว่า 1 ใน 2,500 ประชากร และที่สำคัญคือ มักจะไม่ค่อยมียารักษา ซึ่งทั่วโลกมีการพบผู้ที่ป่วยด้วยโรคหายากโดยมีจำนวนชนิดมากมาย
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์ป่วยด้วยโรคหายากกว่า 8,000 ชนิด!!
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์สำหรับ กลุ่มโรคหายาก นี้ ทางคุณหมอท่านดังกล่าวก็ได้มีการให้ข้อมูลจำแนกเอาไว้ โดยสังเขปมีอาทิ โรคมีกรดในเลือด ที่มักพบในวัยทารกและกลุ่มเด็กเล็ก โดยผู้ป่วยด้วยโรคนี้มักจะซึม ไม่รู้สึกตัว กินไม่ได้ น้ำตาลในเลือดต่ำ ตับโต ตรวจพบกรดในเลือด ซึ่งถ้ารักษาไม่ทันก็มีโอกาสจะเสียชีวิตได้, โรคแอมโมเนียคั่งในเลือด นี่ก็มักจะพบในทารกและเด็กเล็กเช่นกัน ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการซึม กินไม่ได้ อาเจียน โคม่า สมองบวม ตับโต และเมื่อโรครุนแรงอาจส่งผลทำให้สมองพิการถาวร
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์โรคเอสแอลดี มักพบในทารกแรกเกิด ซึ่งทารกที่ป่วยมักจะมีตับ ม้าม หัวใจ โตผิดปกติ เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดลดต่ำลง ตลอดจนส่งผลทำให้เด็กมีพัฒนาการที่ถดถอยลง, โรคพราเดอร์ วิลลี่ ก็มักพบในทารก อาการช่วงเริ่มต้นจะทำให้ทารกนอนหลับมากเป็นพิเศษ และไม่ค่อยกินนมแม่ ส่งผลให้น้ำหนักตัวขึ้นมาได้น้อย จนผ่านไป 6-9 เดือนก็จะเปลี่ยนเป็นเกิดอาการกินไม่รู้อิ่ม ทำให้ร่างกายอ้วนผิดปกติ อีกทั้งโรคประหลาดนี้ยังทำให้พัฒนาการทางสติปัญญาค่อนข้างช้าอีกด้วย
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์โรคกล้ามเนื้อเสื่อมดูเชน มักพบในเด็กชายวัย 3-5 ปี โดยผู้ป่วยจะเดินขาปัด ล้มง่าย เมื่อล้มแล้วจะลุกขึ้นมาเองไม่ได้ จะไม่สามารถลุกเองได้ และเมื่ออายุ 8-9 ปีอาการจะรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ จนเดินไม่ได้ในที่สุด, โรคมาแฟน มักพบในเด็กโต โดยข้อกระดูกจะบิดงอง่ายกว่าปกติ กระดูกหน้าอกบุ๋มหรือโป่งผิดปกติ กระดูกสันหลังคด หรือสายตาสั้นผิดปกติ หรืออาจมีความยืดหยุ่นเส้นเลือดหัวใจผิดปกติ, โรคสมองน้อยเสื่อมจากพันธุกรรม หรือ โรคเดินเซ โรคนี้จะเริ่มปรากฏเมื่อเข้าวัยผู้ใหญ่ ผู้ป่วยจะเดินเซหรือเดินไม่มั่นคงจึงต้องกางขาเพื่อช่วยทรงตัวตลอด นี่เป็นบางส่วนของโรคแปลก-โรคประหลาด
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์บางส่วนของ “โรคกำพร้า โรคหายาก”
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์อย่างไรก็ตาม แม้ว่า“โรคประหลาด”เหล่านี้จะยังคงเป็น“โรคปริศนา”แต่หากมองในอีกมุมหนึ่ง มนุษย์ก็ได้ “แง่คิดจากโรคแปลก” เหล่านี้ด้วยเช่นกัน ซึ่งเกี่ยวกับกรณีนี้ก็เคยมีคุณหมอให้มุมมองผ่านทาง “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” ไว้น่าสนใจ โดยทาง นพ.ไพโรจน์เครือกาญจนาโรงพยาบาลราชวิถีกรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข ได้เคยระบุถึงเรื่องนี้กรณีนี้ไว้ว่า ประชาชนไม่ควรเครียดหรือกังวลจนเกินไปเกี่ยวกับโรคแปลก หรือโรคประหลาด เพราะพบได้น้อยมาก แต่กระนั้น สิ่งที่ “ควรทำที่สุด” ก็คือ “หมั่นสังเกตสัญญาณเตือนทางร่างกาย” ว่า ร่างกายกำลังบอกอะไรกับตัวเราหรือไม่??
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์และถ้าหากสังเกตสัญญาณเตือนแล้ว และ พบว่า “ผิดปกติ” หรือ “มีอะไรผิดแผกแตกต่างจากปกติ” โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับคนช่วงวัยเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน “สิ่งที่ต้องรีบทำ” คือ “ไม่ควรเพิกเฉย ให้รีบพบแพทย์เพื่อขอคำแนะนำ” นี่เป็นคำแนะนำจากคุณหมอท่านนี้ ทั้งนี้ ทางคุณหมอท่านเดิมยังได้สะท้อนถึงความวิตกกังวลในโรคประหลาดไว้ด้วยว่า ในบางครั้งก็ต้องยอมรับว่า โรคบางโรคนั้น บางทีตรวจครั้งเดียวก็อาจจะไม่รู้ อาจจะต้องตรวจซ้ำหลายหนถึงรู้ แต่บางครั้งแม้จะตรวจหลายครั้งแล้วก็อาจจะไม่พบต้นตอสาเหตุของโรคก็ได้ ดังนั้น สิ่งที่อยากฝากไว้ คือ ขอให้อยู่กับปัจจุบันจะดีที่สุด
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์“เรื่องสุขภาพร่างกายให้คอยสังเกตและดูตามเหตุตามผลอย่ากังวลเกินไปจนต้องไปเสียเงินทองมากมายไปตรวจแบบไม่จำเป็น อย่างไรก็ดี แต่อีกมุมถ้ามีสัญญาเตือนร่างกายเกิดขึ้น ก็อย่าเพิกเฉย” เป็น “แง่คิด” น่าคิด
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์“โรคแปลก โรคปริศนา” นั้น “ชวนอึ้ง”
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์แต่ก็ “ชวนคิด ไม่ว่าจะกับโรคใด ๆ”
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์ต้องใส่ใจ “ไม่ประมาทเป็นดีที่สุด!!”.
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
ยังอึ้งแม้โลกก้าวล้ำโรคปริศนาสะท้อนย้ำแง่น่าคิดเดลินิวส์