【มาเก๊า888 เว็บพนัน】‘ดูแลหัวใจ’ ให้มากกว่าความรัก ตระหนักสุขภาพ ‘สร้างสุขให้ชีวิต’ | เดลินิวส์
เรื่องราวการดูแลหัวใจเพื่อสร้างความสุขในชีวิตแบบที่มากกว่าเรื่องความรักที่จะชวนดูกัน ณ ที่นี้ เรื่องนี้เป็นข้อมูลเรื่องราวดี ๆ มีประโยชน์ ที่แนะนำมาจากทาง รศ.ดร.พัชราณี ภวัตกุล หัวหน้า ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เลขานุการ โครงการอาหารไทยหัวใจดี ภายใต้ มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ มูลนิธิที่มีหนึ่งในพันธกิจเพื่อประชาชนคือ ส่งเสริม และปฏิบัติการ เพื่อป้องกันและรักษาโรคหัวใจ และโรคอื่น อันจะนำอันตรายหรือความพิการมาสู่หัวใจ และข้อมูล ณ ที่นี้นี่ก็เป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมตามพันธกิจ ข้อมูลหัวข้อ
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์“ไขมันโอเมก้า 3 กับสุขภาพ”
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์
ทาง รศ.ดร.พัชราณี ถ่ายทอดข้อมูลความรู้ความเข้าใจดี ๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้มา ซึ่งก่อนอื่นก็ได้ชวน “รู้จักกับไขมันโอเมก้า 3” ด้วยข้อมูลวิชาการ เพื่อให้แจ่มแจ้งกระจ่างใจมากขึ้น โดยระบุมาว่า ไขมันโอเมก้า 3 เป็นกรดไขมันชนิดหนึ่งที่จัดอยู่ในกลุ่ม ไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน (Polyunsaturated fatty acids : PUFAs) โดยไขมันโอเมก้า 3 มีพันธะคู่ อันแรกอยู่ที่คาร์บอนตัวที่ 3 จากปลายด้านเมทิล นี่จึงเป็นที่มาของชื่อ “โอเมก้า 3” ซึ่ง ตัวอย่างไขมันในกลุ่มนี้ ได้แก่
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์ALA (Alpha-linolenic acid) กรดไขมันชนิดนี้พบมากในน้ำมันพืชบางชนิด เช่น น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันคาโนลา และถั่วเปลือกแข็ง เป็นกรดไขมันจำเป็นที่ร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นได้เอง จึงต้องได้รับจากอาหาร
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์EPA (Eicosapentaenoic acid) พบใน น้ำมันปลา และปลาทะเล เช่น แซลมอน แมคเคอเรล ทูน่า
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์DHA (Docosahexaenoic acid) นี่ก็พบในปลาทะเล และน้ำมันปลา เช่นเดียวกับ EPA
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์ถัดมา รศ.ดร.พัชราณี ชวนรู้ให้แจ่มแจ้งกระจ่างใจมากขึ้นเกี่ยวกับ “บทบาทของโอเมก้า 3 ในร่างกาย” โดยระบุว่า บทบาทของโอเมก้า 3 ในร่างกายนั้น ก็มีทั้งการเป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ โดยเฉพาะในสมอง ดวงตา และสเปิร์ม นอกจากนี้ยังถูกใช้ในการสร้างสารสื่อประสาท และโมเลกุลสื่อสารที่ช่วยลดการอักเสบ รวมถึงกรณีที่ EPA และ DHA ดังที่ระบุมาข้างต้น ช่วยลดการอักเสบมากกว่าโอเมก้า 6 ซึ่งเป็นกรดไขมันอีกประเภทหนึ่งที่พบในน้ำมันพืช และที่สำคัญอีกส่วนคือ
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์โอเมก้า 3 มีบทบาทสำคัญในระบบหัวใจ ตลอดจนหลอดเลือด ภูมิคุ้มกัน และต่อมไร้ท่อ
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์
ไม่เท่านั้น รศ.ดร.พัชราณี หัวหน้าภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เลขานุการโครงการอาหารไทยหัวใจดี ภายใต้มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทยฯ ยังได้ให้ข้อมูลย้ำเพิ่มเติมเกี่ยวกับ “ประโยชน์ของโอเมก้า 3 ต่อร่างกาย” โดยบอกว่า โอเมก้า 3 มีบทบาทสำคัญในการทำงานของร่างกายในหลายด้าน รวมถึงระบบหัวใจและหลอดเลือด พัฒนาการสมอง ภูมิคุ้มกัน และการควบคุมการอักเสบ
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์และต่อไปนี้เป็นการแจกแจงรายละเอียดเกี่ยวกับ “ผลของโอเมก้า 3 ต่อสุขภาพในแต่ละด้าน 3 ด้าน” กล่าวคือ
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์1.ระบบหัวใจและหลอดเลือด โอเมก้า 3 มีส่วนช่วยลดระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด ลดการเต้นผิดจังหวะของหัวใจ ลดการอักเสบในหลอดเลือด ลดความดันโลหิต และป้องกันการจับตัวของเกล็ดเลือด ซึ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็จะ ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดนั่นเอง
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์2.ส่งเสริมการทำงานของสมองและระบบประสาท สำหรับด้านนี้นั้น DHA ดังที่ระบุไว้ตั้งแต่ตอนต้น เป็นส่วนประกอบสำคัญของเซลล์สมอง และเรติน่าที่ดวงตา ซึ่งการบริโภคโอเมก้า 3 อย่างเพียงพอสามารถที่จะช่วยเสริมสร้างพัฒนาการทางสมองในเด็ก และช่วยลดความเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ในผู้สูงอายุได้ด้วย
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์3.ลดการอักเสบในร่างกาย โอเมก้า 3 มีคุณสมบัติช่วยลดการอักเสบที่เป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังหลายชนิด เช่น โรคหัวใจ รวมถึงโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ และมะเร็งบางชนิด
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์
ตัวอย่างอาหารแหล่งโอเมก้า 3
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์ประเด็น “ความสมดุลระหว่างโอเมก้า 3 และโอเมก้า 6” นี่ก็สำคัญ ซึ่ง รศ.ดร.พัชราณี ก็ได้ให้ความรู้ความเข้าใจมาด้วย กล่าวคือ ไขมันโอเมก้า 6 ซึ่งพบมากในน้ำมันพืช เช่น น้ำมันถั่วเหลือง และน้ำมันข้าวโพด มีบทบาทในกระบวนการอักเสบในร่างกาย หากบริโภคมากเกินไปโดยไม่ได้รับโอเมก้า 3 อย่างเพียงพอ อาจเพิ่มการอักเสบและเพิ่มความเสี่ยงของโรคเรื้อรัง ดังนั้น การรักษาสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างโอเมก้า 3 และโอเมก้า 6 คือประมาณ 1 : 4 ถือเป็นสิ่งสำคัญ
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์ทั้งนี้ ต่อด้วยข้อมูลเพื่อให้แจ่มแจ้งกระจ่างใจมากขึ้นในประเด็น “แหล่งอาหารที่มีโอเมก้า 3 สูง” สำหรับประเด็นนี้ทางคุณหมอซึ่งเป็นเลขานุการโครงการอาหารไทยหัวใจดี ภายใต้มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทยฯ แนะนำมาว่า ได้แก่
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์ปลาทะเล ต่าง ๆ เช่น ปลาแซลมอน ปลาทูน่า ปลาแมคเคอเรล อย่างไรก็ดี ปลาไทย เช่น ปลากะพง ปลาทู ปลาสลิด ก็เป็นปลาที่มีโอเมก้า 3 เช่นกัน, น้ำมันพืช เช่น น้ำมันเมล็ดแฟลกซ์ น้ำมันคาโนลา และน้ำมันถั่วเหลือง ด้วย, ถั่วเปลือกแข็ง เช่น วอลนัท และเมล็ดเชีย ตลอดจน อาหารที่เสริมโอเมก้า ไข่ไก่โอเมก้า 3 เนื้อหมูโอเมก้า เนื้อไก่โอเมก้า และ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร คือ น้ำมันปลา แต่ในส่วนนี้ควรรับประทานภายใต้คำแนะนำของแพทย์
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์สำหรับ “ปริมาณที่แนะนำให้ได้รับต่อวัน” เกี่ยวกับ “โอเมก้า 3” นี่ก็มีข้อมูลแนะนำมาพร้อมสรรพ ดังนี้คือ ผู้ชาย แนะนำ 1.6 กรัมต่อวัน, ผู้หญิง แนะนำ 1.1 กรัมต่อวัน, หญิงตั้งครรภ์ แนะนำ 1.4 กรัมต่อวัน, หญิงให้นมบุตร แนะนำ 1.3 กรัมต่อวัน ส่วนเด็ก และผู้สูงอายุ คำแนะนำคือควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการหรือแพทย์เพื่อกำหนดปริมาณที่เหมาะสม
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์
พืชผักผลไม้ก็ยังสำคัญด้วยเช่นกัน
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์พร้อมกันนี้ ก็มีข้อมูล “ข้อควรระวังและคำแนะนำในการบริโภค” พ่วงมาด้วย เพื่อให้แจ่มแจ้งกระจ่างใจแบบที่ไม่เกิดผลข้างเคียง กล่าวคือ แม้โอเมก้า 3 จะมีประโยชน์ต่อสุขภาพ แต่การบริโภคในปริมาณที่มากเกินไปก็อาจทำให้เกิดผลข้างเคียงได้ เช่น การแข็งตัวของเลือดผิดปกติและความเสี่ยงของเลือดออก โดยเฉพาะในผู้ที่รับประทานยาละลายลิ่มเลือด หรือมีประวัติหลอดเลือดสมองแตก ดังนั้น ควรหลีกเลี่ยงการบริโภคน้ำมันปลาเกิน 3 กรัมต่อวันหากไม่มีคำแนะนำจากแพทย์ เลือกอาหารที่เป็นแหล่งของโอเมก้า 3 เช่น ปลา แทนการพึ่งพาผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และผู้ที่มีภาวะสุขภาพพิเศษ เช่น ระดับไตรกลีเซอไรด์สูง ควรปรึกษาแพทย์ก่อนรับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์“ไขมันโอเมก้า 3 มีบทบาทสำคัญในการดูแลสุขภาพหัวใจ รวมถึงสมอง และระบบประสาท การบริโภคอาหารที่มีโอเมก้า 3 อย่างเหมาะสม เช่น ปลาทะเล ถั่วเปลือกแข็ง ช่วยลดความเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เสริมสร้างสุขภาพโดยรวม และอย่าลืมรักษาสมดุลการบริโภคไขมันทุกชนิดเพื่อให้ร่างกายได้รับประโยชน์สูงสุด” นี่เป็นทิ้งท้ายคำแนะนำจาก รศ.ดร.พัชราณี หัวหน้าภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เลขานุการโครงการอาหารไทยหัวใจดี ภายใต้มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทยฯ วันนี้ ณ ที่นี้ก็นำมาสะท้อนไว้ กับเรื่องดี ๆ มีประโยชน์
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์“ดูแลหัวใจ” นั้นจะ “ต้องมากกว่าเรื่องรัก ต้องรวมเรื่องสุขภาพ” ทั้งนี้ทั้งนี้ ก็ “เพื่อสร้างสุขในชีวิต”.
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์ไกรเลิศ พึ่งบุญ ณ อยุธยา
ดูแลหัวใจให้มากกว่าความรักตระหนักสุขภาพสร้างสุขให้ชีวิตเดลินิวส์