【bk slot】‘วิจัยเด่น’ฮับเส้นไหม ‘โจทย์ชุมชน’ ตั้งต้น‘แก้ไข+พัฒนา’ | เดลินิวส์

ทั้งนี้ การผลักดันเรื่องนี้สู่เป้าหมาย ที่เมื่อนึกถึง “เส้นไหมคุณภาพดี” ต้องนึกถึง “จ.สุรินทร์” แนวคิดนี้เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการ “การพัฒนาศักยภาพการผลิตผ้าไหม ผลิตภัณฑ์และการบริการสร้างสรรค์ ตามรอยอารยธรรมของอีสานใต้ด้วยเทคโนโลยีพร้อมใช้” ซึ่งนักวิจัยตั้งเป้าผลักดัน โดย

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

“ส่งเสริม” ให้ “ชาวบ้านเป็นนวัตกร”

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

เพื่อการ “ยกระดับเส้นไหม จ.สุรินทร์”

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

ผศ.ดร.มาโนช ริทินโย

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

กับการผลักดัน “สุรินทร์เป็นฮับเส้นไหมคุณภาพ” ที่ทาง “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” นำข้อมูลมาสะท้อนต่อ ทาง ผศ.ดร.มาโนช ริทินโย อาจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นักวิจัยโครงการ “การพัฒนาศักยภาพการผลิตผ้าไหม ผลิตภัณฑ์และการบริการสร้างสรรค์ ตามรอยอารยธรรมของอีสานใต้ด้วยเทคโนโลยีพร้อมใช้” ที่สนับสนุนโดย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) มีการเผยไว้ว่า พื้นที่ จ.สุรินทร์ ถูกยอมรับเป็นแหล่งผลิตผ้าไหมที่ขึ้นชื่อ ดังนั้นโจทย์การพัฒนาผ้าไหมให้มีคุณภาพจึงเป็นโจทย์ของการทำงานโครงการนี้

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

โดยต้อง “เริ่มต้นตั้งแต่ระดับต้นน้ำ”

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

คือ “ยกระดับปลูกหม่อนเลี้ยงไหม”

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

ทางนักวิจัยได้แจกแจงเรื่องนี้ไว้ โดยสังเขปมีว่า หลังจากที่ได้ลงพื้นที่สำรวจการผลิตเส้นไหม ทำให้พบว่า ในพื้นที่ จ.สุรินทร์ สามารถผลิตเส้นไหมได้เพียงปีละ 37 ล้านบาทเท่านั้น ซึ่งสวนทางกับความต้องการของตลาดในพื้นที่ ที่ต้องการเส้นไหมมากถึงปีละกว่า 1,000 ล้านบาท เพื่อจะนำไปใช้เป็นวัสดุในการทอเป็นผืนผ้า และด้วยความที่ในพื้นที่มีปริมาณเส้นไหมไม่เพียงพอ ทำให้ อุตสาหกรรมทอผ้าในพื้นที่นี้ต้องนำเข้าเส้นไหมมาจากพื้นที่อื่น เช่น บุรีรัมย์ ชัยภูมิ นครราชสีมา

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

กรณีนี้ก็ “นับเป็นปัญหาต้นน้ำที่สำคัญ”

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

ส่งผลทำให้ “ต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น”

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

“จากโจทย์ดังกล่าว ทีมวิจัยมองว่า วิธีแก้ปัญหาจะต้องเริ่มตั้งแต่ต้นน้ำ คือต้องผลิตเส้นไหมให้ได้มากขึ้น จึงเริ่ม หาวิธีการที่จะทำให้ในพื้นที่มีใบหม่อนที่มีคุณภาพและมีปริมาณมากพอสำหรับเลี้ยงหนอนไหม เนื่องจากที่ผ่านมาหม่อน 1 ไร่ได้ผลผลิตที่เป็นใบหม่อนแค่ 900 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งไม่พอนำไปเลี้ยงไหม” ทางนักวิจัยท่านเดิมระบุไว้ถึงโจทย์ที่ต้องแก้

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

เริ่มต้นด้วยการเพิ่มผลผลิตใบหม่อน

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

เพื่อจะใช้สำหรับการเลี้ยงหนอนไหม

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

ผศ.ดร.มาโนช มีการให้ข้อมูลเพิ่มเติมไว้อีกว่า หลังแก้ปัญหาต้นน้ำด้วยการเพิ่มผลผลิตใบหม่อนแล้ว ทีมวิจัยก็ได้เข้าไปช่วย แก้ปัญหาในช่วงกลางน้ำ เนื่องจากพบว่า ชาวบ้านที่ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมมักจะเลี้ยงหนอนไหมแบบซ้อนรุ่น จึงเข้าไปให้ความรู้กับชาวบ้าน ให้ ปรับเรื่องการให้อาหารที่ถูกต้อง และแนะนำการ จัดโรงเรือนกับการปรับสภาวะแวดล้อมการเลี้ยงที่เหมาะสม เพราะเดิมชาวบ้านเลี้ยงไหมได้เปอร์เซ็นต์เปลือกรังอยู่ที่ 12-15% ซึ่งเป็นปริมาณที่น้อย

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

ทั้งนี้ ภายหลังจากที่ทางทีมวิจัยนี้ได้เข้าไปช่วยปรับเปลี่ยนวิธีการเลี้ยงหนอนไหมใหม่ให้กับเกษตรกร ปรากฏว่า เกษตรกรที่ทดลองทำวิธีนี้ได้เปอร์เซ็นต์เปลือกรังไหมเพิ่มขึ้นมาที่ 18% โดยในทุก 1% เกษตรกรจะได้ความยาวเส้นไหมเพิ่มขึ้นมาที่ 30 เมตร ซึ่งหากเกษตรกรเลี้ยงไหมจำนวน 1 รุ่น โดยได้รังไหม 10,000 รัง เมื่อนำมาคูณกับ 30 เมตร เกษตรกรที่เลี้ยงหนอนไหมวิธีนี้ก็จะได้เส้นไหมที่ประมาณ 300,000 เมตรต่อรอบการผลิตรังไหม ซึ่งเป็นปริมาณเส้นไหมที่ได้เพิ่มขึ้นมาก

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

เป็น “ความเปลี่ยนแปลงหลังปรับปรุง”

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

ทำให้“ได้เส้นไหมในปริมาณที่มากขึ้น”

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

นอกจากนั้น ทางทีมวิจัยยังได้คิดค้นพัฒนาเทคโนโลยีผลิตเส้นไหมขึ้นมาใหม่ให้กับชาวบ้านด้วย ที่ประกอบด้วย เครื่องสาวเส้นไหม, เครื่องช่วยฟอกและย้อมสีเส้นไหม, เครื่องตีและควบเกลียวเส้นไหม, เครื่องขึ้นลำมัดหมี่, เครื่องค้นหูกเส้นไหม และเครื่องช่วยขึ้นม้วนเส้นไหม ส่งผลทำให้ชาวบ้านสามารถ ผลิตเส้นไหมได้คุณภาพเกรดA และทำให้ การผลิตเส้นไหมของชุมชนมีประสิทธิภาพสูงขึ้นจากเดิม 50%อีกด้วย ทาง ผศ.ดร.มาโนช นักวิชาการทีมวิจัยให้ข้อมูลไว้

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

พร้อมระบุไว้ด้วยว่า กระบวนการต่าง ๆ ที่ทีมวิจัยได้เข้าไปทำตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำนั้นเป็นกระบวนการทำงานที่ตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมายได้มากพอสมควร ซึ่งจะสามารถลดการซื้อเส้นไหมจากนอกพื้นที่ จ.สุรินทร์ ได้แบบ 100% อีกทั้งยังลดความเมื่อยล้าจากกรรมวิธีการผลิตแบบวิธีดั้งเดิมให้กับกลุ่มผู้ผลิตเส้นไหม โดยที่เป้าหมายต่อไปของโครงการนี้ก็คือ การ “สร้างนวัตกรชุมชนที่มีทักษะสูง” เพื่อให้เกิดการพัฒนาอาชีพอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะนำไปสู่การเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจชุมชนให้มั่นคงแข็งแรงมากยิ่งขึ้น และสุดท้ายคือการผลักดัน “จ.สุรินทร์” ให้ยกระดับเป็น “ฮับของเส้นไหม”

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

“แนวคิด แนวทาง” เหล่านี้ “น่าสนใจ”

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

น่าปรับใช้กับพื้นที่อื่น ๆ ของดีอื่น ๆ

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

ไม่เพียงพื้นที่นี้-ไม่เพียงกับเส้นไหม.

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์

ทีมสกู๊ปเดลินิวส์

วิจัยเด่นฮับเส้นไหมโจทย์ชุมชนตั้งต้นแก้ไขพัฒนาเดลินิวส์