【สล็อตทดลองเล่นjili】สังคมโลก : ปิดปากตัวเอง | เดลินิวส์
เมื่อวันที่ 24 ก.พ. 2565 ประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ ปูติน ประกาศ “ปฏิบัติการพิเศษทางทหาร” ซึ่งถูกเรียกด้วยอักษรย่อในภาษารัสเซียว่า “เอสวีโอ” (SVO) โดยตัวย่อดังกล่าว ถูกใช้อย่างแพร่หลายในทั่วประเทศ ทั้งในกลุ่มนักการเมืองและทหาร หรือปรากฏบนเครือข่ายสังคมออนไลน์, ในหนังสือ และบนป้ายโฆษณา
สังคมโลกปิดปากตัวเองเดลินิวส์ตอนแรก การใช้คำว่า “สงคราม” ในรัสเซีย ถูกห้ามโดยสิ้นเชิง และมีโทษจำคุก จนกระทั่งมันปรากฏขึ้นอีกครั้งในภาษาราชการ แต่มันมีจุดมุ่งหมายเพียงเพื่ออธิบายสิ่งที่ปูตินกล่าวว่าเป็น “สงครามที่ถูกกระตุ้นให้เกิดขึ้นโดยยูเครนและชาติตะวันตก” เท่านั้น
สังคมโลกปิดปากตัวเองเดลินิวส์ขณะที่ นางนินา โปโปวา นักเขียนที่สนับสนุนรัฐบาลมอสโก และรองหัวหัวหน้าสหภาพนักเขียนรัสเซีย ใช้คำนี้โดยไม่ลังเล โดยองค์กรของเธอ ซึ่งเป็นเครื่องมือโฆษณาชวนเชื่อในยุคโซเวียต กำกับดูแลการตีพิมพ์บทกวีชุด “For Our Friends” ที่ยกย่องความกล้าหาญของทหารรัสเซีย ในการสู้รบกับยูเครน เมื่อเดือน มิ.ย. ที่ผ่านมา และการปรากฏของบทกวีและบทเพลงรักชาติ แสดงให้เห็นว่า ความขัดแย้งในยูเครน “เริ่มมีมิติที่ศักดิ์สิทธิ์”
สังคมโลกปิดปากตัวเองเดลินิวส์ด้านนักภาษาศาสตร์คนหนึ่งระบุว่า เมื่อสงครามยืดเยื้อต่อไป มันก็จะกลายเป็นเรื่องของ “การล้างแค้นให้สหายที่เสียชีวิต” ซึ่งผู้คนไม่เข้าใจอีกต่อไปว่าทำไมถึงต้องสู้รบ และสิ่งที่อยากได้มาคืออะไร แต่พวกเขาเข้าใจว่า เพื่อนร่วมชาติอยู่ที่นี่ และคนอื่นอยู่ที่นั่น
สังคมโลกปิดปากตัวเองเดลินิวส์ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงในด้านภาษาของรัสเซีย มีนัยสำคัญตั้งแต่ปี 2565 เมื่อวาทกรรมอย่างเป็นทางการของรัฐบาลมอสโก ให้คำมั่นสัญญาว่าจะเอาชนะยูเครนอย่างรวดเร็ว ส่วนการเปลี่ยนแปลงอีกอย่างหนึ่ง คือ การที่รัฐบาลไม่ปฏิเสธการสูญเสีย เพื่อพยายามลดความตกตะลึงในความคิดเห็นของประชาชน
สังคมโลกปิดปากตัวเองเดลินิวส์นอกจากนี้ยังมีการใช้คำสุภาพหลายคำในภาษารัสเซีย เพื่อกล่าวถึงความสูญเสีย ไม่ว่าจะเป็น “200s” และ “300s” เพื่อสื่อถึงการเสียชีวิต และการบาดเจ็บของทหาร ตามลำดับ
สังคมโลกปิดปากตัวเองเดลินิวส์อนึ่ง คำเหล่านี้ปรากฏอยู่ใน “พจนานุกรมของเอสโอวี ฉบับไม่เป็นทางการ” ซึ่งมีศัพท์เฉพาะที่กองทัพรัสเซียใช้ เช่น “นก” หรือ “แบทแมน” สำหรับโดรน ตลอดจนคำศัพท์ใหม่ที่ใช้เรียกทหารประจำการ เช่น “โมบิกิ” หรือ “ชโมบิกิ”
สังคมโลกปิดปากตัวเองเดลินิวส์ชาวกรุงมอสโกคนหนึ่ง กล่าวว่า เธอมีความกังวลเกี่ยวกับการพูดอย่างอิสระ แม้แต่ในบ้านของเธอเอง เพราะเธอกลัวว่า “อลิซา” (Alisa) ผู้ช่วยเสมือนจริงของบริษัท ยานเดกซ์ ยักษ์ใหญ่ด้านอินเทอร์เน็ตของรัสเซีย จะแบ่งปันข้อมูลของเธอให้กับทางการ
สังคมโลกปิดปากตัวเองเดลินิวส์อีกด้านหนึ่ง นายอเล็กเซ เลวินสัน นักสังคมวิทยาจากศูนย์เลวาดา จัดการสนทนากลุ่ม เพื่อรับฟังความคิดเห็นของสาธารณชนเป็นประจำ ซึ่งเขากล่าวว่า เสียงวิพากษ์วิจารณ์เริ่มเงียบลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื่องจากการระดมพลพลเรือนยังคงจำกัด และทหารใหม่มักเป็นอาสาสมัครที่ได้รับค่าจ้างค่อนข้างดี.
สังคมโลกปิดปากตัวเองเดลินิวส์เลนซ์ซูม
สังคมโลกปิดปากตัวเองเดลินิวส์เครดิตภาพ : AFP
สังคมโลกปิดปากตัวเองเดลินิวส์