【168galaxy com login】ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเล ป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไร ไม่ให้กระทบจากการก่อสร้าง | เดลินิวส์
ภายใต้การนำของหัวเรือหญิงคนใหม่ “จิราพร ศิริคำ” กรรมการผู้จัดการใหญ่ เอ็กโก กรุ๊ป ซึ่งคร่ำหวอดอยู่ในวงการพลังงานมาอย่างยาวนาน ก่อนที่จะมานั่งตำแหน่งหัวเรือใหญ่ที่เอ็กโก “จิราพร” นั่งเป็นรองผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) รวมทั้งยังเป็นโฆษก กฟผ. ทำให้ “จิราพร” เข้าใจในเรื่องพลังงานอย่างลึกซึ้ง เข้ามาสานต่อการทำงานต่อจาก “เทพรัตน์ เทพพิทักษ์” ซีอีโอเอ็กโก กรุ๊ป คนเดิมที่ย้ายไปเป็นผู้ว่าการ กฟผ. ได้เป็นอย่างดี
ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเลป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไรไม่ให้กระทบจากการก่อสร้างเดลินิวส์“จิราพร” ได้เปิดวิสัยทัศน์ของเอ็กโก กรุ๊ป เน้นเรื่องความยั่งยืนในทุกด้าน คือ เสริมศักยภาพ เพิ่มโอกาสเพื่อการเติบโตของเอ็กโก กรุ๊ป อย่างยั่งยืน มีทิศทางการดำเนินงาน Cleaner, Smarter and Stronger to drive sustainable growth เริ่มจาก Cleaner มุ่งเน้นการปรับปรุงโรงไฟฟ้าพลังงานหลักให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เช่น การใช้ไฮโดรเจนหรือแอมโมเนียเป็นเชื้อเพลิงผสมในการผลิตไฟฟ้า การศึกษาและใช้เทคโนโลยี CCS หรือ CCUS การเพิ่มกำลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนและพลังงานสะอาดใน Portfolio เพื่อบรรลุเป้าหมายการเพิ่มสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้เป็น 30% ภายในปี 2573 จากปัจจุบันที่มีสัดส่วนกำลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนอยู่ที่ 21%
ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเลป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไรไม่ให้กระทบจากการก่อสร้างเดลินิวส์Smarter ให้ความสำคัญกับการสร้างความมั่นคงและเสถียรภาพในระบบไฟฟ้า โดยลงทุนและเดินเครื่องโรงไฟฟ้าคุณภาพสูงที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง พร้อมกับการแสวงหาโอกาสการลงทุนใหม่ในธุรกิจพลังงานที่เกี่ยวเนื่องที่เติบโตสูง เพื่อให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเลป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไรไม่ให้กระทบจากการก่อสร้างเดลินิวส์และที่สำคัญต้องมี Stronger ด้วยการผนึกกำลังกับพันธมิตรเพื่อขยายและต่อยอดการลงทุนทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งเอ็กโก กรุ๊ป มีความได้เปรียบจากการมีพันธมิตรที่แข็งแกร่งใน 8 ประเทศ ที่มีฐานทางธุรกิจอยู่แล้ว ได้แก่ ไทย สปป.ลาว ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ ไต้หวัน และสหรัฐอเมริกา พร้อมทั้งการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพลังงานในเยาวชนผ่านศูนย์เรียนรู้โรงไฟฟ้าขนอม รวมถึงร่วมอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้ำและทรัพยากรธรรมชาติผ่านการดำเนินงานของมูลนิธิไทยรักษ์ป่า
ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเลป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไรไม่ให้กระทบจากการก่อสร้างเดลินิวส์หนึ่งในโครงการใหญ่ที่สำคัญของเอ็กโก กรุ๊ป คือ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมนอกชายฝั่ง หยุนหลิน ในไต้หวัน ซึ่งเอ็กโก กรุ๊ป ถือหุ้นในสัดส่วน 26.56% ในโครงการ มีกำลังผลิตรวม 640 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบไต้หวัน ห่างจากชายฝั่งทะเลทางตะวันตกของมณฑลหยุนหลิน ในไต้หวัน เป็นระยะทางประมาณ 8-30 กิโลเมตร มีสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะยาว 20 ปี กับ Taipower
ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเลป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไรไม่ให้กระทบจากการก่อสร้างเดลินิวส์ประเด็นที่น่าสนใจ คือ การก่อสร้างโครงการฯ จะมีการ ติดตั้งเสากังหันลม (Monopiles) และกังหันลม (Wind Turbine Generators WTGs) ทั้งหมดจำนวน 80 ต้น มีความคืบหน้าล่าสุด ณ วันที่ 15 ก.ค. 67 โครงการฯ ได้ติดตั้ง Monopiles แล้วเสร็จครบ 80 ต้น เร็วกว่าแผนงานที่กำหนด และติดตั้ง WTGs แล้วเสร็จ 56 ต้น อีกทั้งงานก่อสร้างและติดตั้งอุปกรณ์ส่วนอื่น ๆ สามารถดำเนินการไปได้ด้วยดีตามแผนงาน ที่เหลือการติดตั้ง WTGs อีก 24 ต้น จะแล้วเสร็จครบ 80 ต้น กำลังผลิตรวม 640 เมกะวัตต์ และจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบครบทั้งหมด ภายในสิ้นปีนี้ตามเป้าหมาย
ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเลป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไรไม่ให้กระทบจากการก่อสร้างเดลินิวส์ทั้งนี้การก่อสร้างโครงการหยุนหลินได้คำนึงถึงการดูแลและปกป้องสิ่งแวดล้อมทางทะเลในทุก ๆ ขั้นตอน เพื่อไม่ให้มีปัญหาถูกต่อต้านจากคนในพื้นที่ หรือสร้างผลกระทบกับสิ่งมีชีวิตใต้ทะเล และยังเป็นการนำไปสู่การสร้างความมั่นคงและยั่งยืนในการดำเนินโครงการ รวมถึงสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน
ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเลป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไรไม่ให้กระทบจากการก่อสร้างเดลินิวส์สำหรับ มาตรการดูแลสิ่งแวดล้อม ในขั้นตอนการตอกเสากังหันลม เป้าหมายหลัก เป็นการดูแลและปกป้องสิ่งมีชีวิตใต้ทะเล โดยเฉพาะโลมาสีชมพู ไม่ให้ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้าง ด้วยการป้องกันไม่ให้สัตว์ทะเลที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น วาฬหรือโลมา ซึ่งมีความสำคัญต่อระบบนิเวศ เข้ามาในบริเวณที่มีการก่อสร้าง รวมถึงลดผลกระทบและตรวจสอบระดับเสียงใต้น้ำให้เป็นไปตามมาตรฐาน การดำเนินงานป้องกันไม่ให้สัตว์ทะเลเข้ามาในพื้นที่ก่อสร้าง
ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเลป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไรไม่ให้กระทบจากการก่อสร้างเดลินิวส์ก่อนการก่อสร้างจริง 30 นาที จะมีการส่งเรือ 4 ลำ ไปใน 4 ทิศทาง ภายในรัศมี 750 เมตร รอบบริเวณที่มีการก่อสร้าง Monopiles หรือเรียกว่า Exclusive Zone เพื่อสำรวจพื้นที่ล่วงหน้า และป้องกันไม่ให้สัตว์ทะเลเข้ามาพื้นที่ที่กำลังจะมีการก่อสร้าง
ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเลป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไรไม่ให้กระทบจากการก่อสร้างเดลินิวส์ระหว่างที่มีการตอก Monopiles จะมีการส่งเรืออีก 2 ลำ เพื่อสำรวจและป้องกันสัตว์ทะเล ในพื้นที่เฝ้าระวังเป็นชั้นที่ 2 หรือเรียก
ว่า Precautionary Area ในระยะ 750-1,500 เมตร จากรัศมีการตอก Monopiles ซึ่งหากมีสัตว์ทะเลเข้ามาในพื้นที่นี้ระหว่างการตอก Monopile ทางโครงการจะหยุดการก่อสร้างชั่วคราว และจะสามารถกลับมาดำเนินการต่อได้ เมื่อสัตว์ทะเลไม่ได้อยู่ในพื้นที่แล้ว
ขณะเดียวกันยังได้ ตรวจสอบระดับเสียงใต้น้ำให้เป็นไปตามมาตรฐานอย่างเข้มงวด เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตใต้ทะเล โดยโครงการฯ ได้กำหนดมาตรฐานระดับเสียงใต้น้ำ ในพื้นที่ Exclusive Zone ไว้ไม่เกิน 160 เดซิเบล เนื่องจากเป็นระดับที่ปลอดภัยต่อสัตว์ทะเล โดยระหว่างการก่อสร้าง จะมีการสร้างม่านฟองอากาศใต้น้ำขึ้น 2 ชั้น ในระยะ 750-1,500 เมตร ล้อมรอบจุดที่มีการตอก Monopiles เพื่อลดผลกระทบทางเสียงลงกว่า 90% เพื่อช่วยปกป้องสัตว์ทะเลที่ใช้คลื่นอัลตราซาวด์ในการสื่อสาร
ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเลป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไรไม่ให้กระทบจากการก่อสร้างเดลินิวส์ส่วน มาตรการดูแลสิ่งแวดล้อม ในขั้นตอนการวางสายเคเบิลใต้น้ำ เพื่อดูแลคุณภาพน้ำและปกป้องสิ่งมีชีวิตใต้ทะเล ด้วยการติดตั้งม่านดักตะกอนตลอดแนวชายฝั่งน้ำตื้น (ความลึกน้อยกว่า 5 เมตร) ในระหว่างที่มีการติดตั้งสายเคเบิลใต้น้ำ เพื่อลดผลกระทบจากการแพร่กระจายของสารแขวนลอย รวมถึงป้องกันไม่ให้ปลาหรือสัตว์ทะเลอื่น ๆ เข้ามาในบริเวณที่มีการก่อสร้าง.
ตามดูวิธีสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลมในทะเลป้องกันสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลโลมาสีชมพูอย่างไรไม่ให้กระทบจากการก่อสร้างเดลินิวส์