【superslothaha】‘คนเป็น’น่ากลัวกว่าผี ‘คนตายถูกรุกที่’ ปัญหานี้‘ไทยมีมั้ย??’ | เดลินิวส์
ทั้งนี้ จากการขยายตัวของพื้นที่เมือง ก็ต่อเนื่องด้วย “ความต้องการใช้ที่ดินสูงขึ้นเรื่อย ๆ” และเกิดกรณีที่ “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” จะสะท้อนต่อข้อมูลในวันนี้
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์“สุสาน” ได้ “กลายเป็นพื้นที่มีมูลค่า”
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์“พื้นที่คนตาย” ได้ “ถูกคนเป็นรุกคืบ”
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์กรณีน่าคิดดังกล่าวนี้ไม่ใช่เรื่องล้อเล่น “เป็นเรื่องจริง” ที่เกิดขึ้นกับหลายเมืองทั่วโลก ซึ่ง กับประเทศไทยก็ “น่าคิด” เพราะ “ความต้องการใช้ประโยชน์ที่ดินในประเทศไทยก็ปรับตัวเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ” โดยเฉพาะกับ “พื้นที่เมือง” กับ “เขตเมืองใหญ่” ดังนั้น สถานการณ์ “คนเป็นรุกพื้นที่คนตาย” ก็เป็น “ปรากฏการณ์ที่น่าทำความเข้าใจ” โดยทาง รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา อาจารย์ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และหัวหน้า ศูนย์สร้างเสริมสุขภาวะเมือง (Healthy Space Forum) ได้สะท้อนกรณีดังกล่าวนี้ไว้ผ่านรายการพ็อดแคสต์ “Capital City EP.26” ว่า “คนเป็นรุกที่คนตายกำลังเป็นปัญหาทั่วโลก”ที่นำสู่คำถามที่ว่า “จะมีวิธีการเช่นไร??” ที่จะทำให้
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์“คนเป็นอยู่กับคนตายได้โดยไร้ปัญหา”
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์ทั้งนี้ ในรายการดังกล่าว รศ.ดร.พนิตหัวหน้าศูนย์สร้างเสริมสุขภาวะเมือง ระบุแจกแจงไว้ว่า “พื้นที่เมือง” ถูกมองเป็น “พื้นที่ของคนเป็น” แต่ในอีกมุมหนึ่งนั้นเมืองก็มี “พื้นที่ของคนตาย” อยู่คู่กับเมืองมาอย่างยาวนานเช่นกัน ในรูปแบบของสุสาน สถานที่ฝังศพ หรือสถานที่เก็บกระดูกของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว อย่างไรก็ตาม แต่หลังจากโครงสร้างทางสังคมเปลี่ยนแปลง ประกอบกับการขยายตัวของประชากรที่มีมากขึ้น กรณนี้จึงทำให้ ที่ดินในเมืองขาดแคลน ทำให้คนเป็นเริ่มหาที่อยู่อาศัยยากมากขึ้น ในขณะที่การหาพื้นที่สำหรับคนตายก็ยากขึ้นไม่แพ้กันส่งผลให้เกิดคำถามตามมาว่า
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์เมื่อ “คนเป็นเริ่มรุกไล่แย่งที่คนตาย”
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์“อนาคตของสุสานจะเป็นยังไงต่อไป?”
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์จากปุจฉานี้ ก็นำสู่ “แนวคิดสำคัญ” นั่นคือการ “หาจุดตรงกลาง” เพื่อการ “อยู่ร่วมกันระหว่างคนเป็น คนตาย” โดยเรื่องนี้ทาง รศ.ดร.พนิต ระบุไว้ว่า ในยุคที่ราคาที่ดินแพงขึ้นเรื่อย ๆ ทางออกที่ดีที่สุดคือหาแนวทางทำให้คนตายและคนเป็นสามารถอยู่ร่วมกันได้ ซึ่งแนวคิดนี้ก็นำสู่คำถามอีกข้อหนึ่งคือ แล้ว “สุสานจะปรับตัวอย่างไรให้เข้ากับเมืองได้?” ซึ่งอันที่จริงแล้วหลาย ๆ เมืองใหญ่ทั่วโลกต่างก็มีแนวคิดที่จะ เปลี่ยนสุสานเป็นแนวตั้ง จากเดิมที่เคยเป็นแนวราบ ทำให้ต้องใช้พื้นที่เยอะ เปลี่ยนเป็นรูปแบบสุสานบนตึก หรือเป็นแนวตั้ง ซึ่งทำให้ใช้พื้นที่น้อยลง แถมยังใช้ประโยชน์ได้มากขึ้นด้วย
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์“เมื่อก่อนประเด็นพวกนี้ไม่มีปัญหา เพราะคนน้อย และโลกยังมีพื้นที่เยอะ ฉะนั้นการมีพื้นที่ของผู้เสียชีวิต หรือการมีพื้นที่ให้กับคนที่ตายไปแล้วนั้น จึงไม่เป็นปัญหา หรือมีปัญหาก็เป็นแค่ปัญหาเล็กน้อย แต่วันนี้ไม่ใช่แล้ว เพราะการจะหาพื้นที่ให้ผู้เสียชีวิตอยู่ในพื้นที่เมืองเริ่มกลายเป็นปัญหา เนื่องจากพื้นที่มีจำกัดขึ้นเรื่อย ๆ”
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์รศ.ดร.พนิต ขยายภาพปัญหาในยุคหลัง ๆ ไว้ว่า จากสิ่งที่เกิดขึ้นจึงทำให้ได้เห็น “ปรากฏการณ์จัดระเบียบพื้นที่คนตาย”รูปแบบที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน หรือ มีการใช้พื้นที่คนตายทำให้เกิดประโยชน์มากขึ้นหลายอย่าง มากกว่าจะเป็นแค่ที่อยู่ของคนที่เสียชีวิตไปแล้วเท่านั้น และสิ่งที่ได้เห็นก็รวมถึง “ปรากฏการณ์รุกที่คนตาย” ที่เกิดในบางเมืองของโลก อาทิ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ที่เคยมีพื้นที่สุสานขนาดใหญ่สำหรับคนตาย ก็ถูกรุกพื้นที่โดย กลุ่มคนยากจนเข้าใช้พื้นที่สุสาน
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์เปลี่ยนเมืองสุสานเป็นชุมชนแออัด
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์ทาง รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา หัวหน้าศูนย์สร้างเสริมสุขภาวะเมือง ยังมีการระบุถึงกรณีกรุงไคโรไว้อีกว่า นอกจากกลุ่มคนยากจนที่เข้าใช้พื้นที่คนตายแล้ว รัฐบาลอียิปต์เองก็ยังมีการใช้ประโยชน์จากเขตที่ดินสุสานเหล่านี้ด้วย เช่น มีการตัดทางรถไฟผ่านเมืองสุสาน หรือ มีการเวนคืนพื้นที่เมืองสุสานเพื่อที่จะใช้ประโยชน์ที่ดิน มากขึ้นเรื่อย ๆ
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์อีกกรณีคือ ประเทศเยอรมนี ที่คนเยอรมันมีการออมเงินกับสุสานไว้ล่วงหน้า เพื่อที่เมื่อเสียชีวิตจะได้มีที่ฝังศพตัวเอง แต่ก็ มีอายุการใช้พื้นที่สุสานให้แค่ 30 ปี ซึ่งเมื่อครบกำหนดแล้ว ร่างก็จะถูกขุดขึ้นมาเผา นี่ก็เป็นอีกตัวอย่าง
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์ส่วน ฮ่องกง ซึ่งราคาที่ดินแพงมาก พื้นที่ของสุสานที่นี่จะถูกใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ แต่เมื่อมีคนตายเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ที่สุดรัฐบาลก็จัดการไม่ไหว จนต้อง หาวิธีจัดการ “พื้นที่คนตาย” ด้วยการอนุญาตให้เอกชนรับสัมปทานจัดหาสุสาน จนเกิด “อาคารสุสาน” ที่เป็นตึกสูง ๆ หรือ “คอนโดมิเนียมคนตาย” เป็นต้น นี่เป็นกรณีศึกษาทางฝั่งเอเชีย
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์“วันนี้มีพื้นที่ของคนตายในหลาย ๆ เมืองทั่วโลกเริ่มถูกบุกรุกจากคนเป็น ทำให้บางเมืองต้องนำแนวคิดใหม่ ๆ มาใช้ ปรับเปลี่ยนพื้นที่ให้คนตายกับคนเป็นอยู่ร่วมกันได้แบบไม่มีปัญหา เช่น อาคารสุสาน ซึ่งในแง่การจัดการเมืองก็เป็นตัวเลือกที่ดี ยิ่งถ้าออกแบบดี ๆ ก็เชื่อว่าทั้งคนเป็นคนตายน่าจะวิน วินทั้งคู่” นักวิชาการระบุไว้
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์กรณี “คนเป็นรุกที่คนตาย” ก็ “น่าคิด”
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์โลกยุคนี้นี่ “คนตายก็ยังต้องปรับตัว”
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์โดย “ไทย หวังว่าจะไม่มีปัญหา??”.
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
คนเป็นน่ากลัวกว่าผีคนตายถูกรุกที่ปัญหานี้ไทยมีมั้ยเดลินิวส์