【define ต้อนรับ】The Future of Jobs 2025 เปิดทักษะแห่งอนาคต | เดลินิวส์
วันที่ 8 ม.ค. 2568 World Economic Forum ได้แถลงแถลงข้อมูลรายงาน Future of Jobs 2025 ซึ่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นตัวแทนหนึ่งเดียวในประเทศไทยร่วมกับ World Economic Forum ในการเสนอแนวทางเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานในระหว่างปี พ.ศ. 2568–2573
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์ศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เป็นผู้แถลง รายงานนี้อ้างอิงจากการสำรวจ 1,000 บริษัท ครอบคลุมพนักงาน 14 ล้านคน ใน 22 อุตสาหกรรม จาก 55 ประเทศทั่วโลก โดยมีผลการวิเคราะห์ที่สำคัญดังนี้
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์ตำแหน่งงานใหม่ 170 ล้านตำแหน่ง จะเกิดขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม92 ล้านตำแหน่งงาน จะหายไป เนื่องจากระบบอัตโนมัติและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเติบโตสุทธิของการจ้างงานคิดเป็น 7% หรือเท่ากับ 78 ล้านตำแหน่งงานทั่วโลก ซึ่งไม่ได้เป็นการเพิ่มจากงานเดิมแต่เป็นการเพิ่มจากงานใหม่ ดังนั้นงานใหม่บุคลากรต้องพร้อมรับมือตำแหน่งงานใหม่ที่เป็นดาวรุ่ง 5 อันดับ
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์1.ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Engineers Specialists)
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์2.วิศวกรด้านการเงินดิจิทัล (FinTech Engineers)
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์3.ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI และการเรียนรู้ของเครื่อง (AI and Machine Learning Specialists)
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์4.ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Specialists)
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์5.ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการความปลอดภัย (Security Management Specialists)
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์ตำแหน่งงานส่วนงานที่หายไปหรือดาวร่วง
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์1.เจ้าหน้าทีไปรษณีย์
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์2.พนักงานธนาคาร
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์3.เจ้าหน้าที่ป้อนข้อมูล
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์4 .พนักงาน.แคชเชียร์
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์5 .ผู้เชี่ยวชาญงานธุรการ เลขานุการ
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์ปัจจัยสำคัญที่เปลี่ยนแปลงตลาดแรงงานในปี 2573
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์โดยเรียงลำดับความสำคัญ ดังนี้
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์1. การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี AI หุ่นยนต์ และนวัตกรรมด้านพลังงานเป็นปัจจัยหลักที่เปลี่ยนแปลงบทบาทงานและทักษะ
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์2. การเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม การลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกระตุ้นความต้องการวิศวกรสิ่งแวดล้อมและพลังงานหมุนเวียน
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์3. ความผันผวนทางเศรษฐกิจ ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นและการชะลอตัวทางเศรษฐกิจเป็นความท้าทายสำคัญ
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์4. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ประชากรสูงอายุในประเทศรายได้สูงและแรงงานขยายตัวในประเทศรายได้ต่ำปรับเปลี่ยนตลาดแรงงาน
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์5. การแบ่งแยกทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ข้อจำกัดทางการค้าและความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ส่งผลต่อรูปแบบธุรกิจ จากเดิมสรุปฝั่งยุโรปเป็นผู้มีรายได้ดีกว่าฝั่งเอเชีย แต่ต่อไปนี้จะไม่ใช่แล้วจะมีการซอยเศรษฐกิจแบบยิบย่อยขึ้น จะกลายเป็นแรงผลักดันที่ต้องทำให้เราเปลี่ยนแปลงเรื่องตลาดแรงงาน
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์
ทักษะในอนาคตของประเทศไทยและประเทศต่างๆทั่วโลก
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์ภายในปี พ.ศ. 2573 สองในห้าของทักษะที่มีอยู่จะถูกเปลี่ยนแปลง ทักษะที่สำคัญของไทย คือ ทักษะด้าน AI และ Big Data ทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ ทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ ทักษะด้านเครือข่ายและความปลอดภัยทางข้อมูล ในขณะที่ระดับโลกเน้นทักษะด้าน AI และ Big Data ทักษะด้านเครือข่ายและความปลอดภัยทางข้อมูล ความฉลาดในการใช้งานเทคโนโลยี และทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์“ทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ หมายถึงสกิลที่ไม่เชื่อคนง่าย หรือการไม่เชื่อข้อมูลที่ได้มาแต่จะมีคำถามยกตัวอย่างเช่นร้านอาหารที่ได้มิชลิน 5 ดาว เดิมทีเราจะเข้าไปกินด้วยการเชื่อในการรับรอง แต่ถ้าคนมีทักษะคิดวิเคราะห์ จะมีคำถามว่าทำไมถึงได้รับรองมิชลิน 5 ดาว ส่วนทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ไม่ใช้เพียงแค่ไม่มีผลงานที่ไม่เหมือนคนอื่น แต่ต้องมีแนวคิดที่ไม่เหมือนคนอื่น เมื่อก่อนเราการเรียนใช้การท่องจำ สกิลที่เห็นได้ชัดคือท่องสูตรคูณ ซึ่งสมองของคนส่วนใหญ่จะท่องถึงแม่ 12 สมองมีขีดจำกัดจึงมีเครื่องคิดเลขเข้ามาแทน วันนี้เราไม่มีความจำเป็นต้องเรียนแบบท่องจำแบบเรื่องท่องสูตรคูณอีกแล้ว ซึ่งเอไอได้เข้ามาแทนที่เสมือนส่วนหนึ่งของชีวิต เปรียบเหมือนที่เราใช้เครื่องคิดเลขจนคล่อง นั่นคือเหตุผลว่าตำแหน่งตำแหน่งงานผู้เชี่ยวชาญด้านเอไอ จึงมีความสำคัญของ”
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์ศาสตราจารย์ดร.วิเลิศยังกล่าวอีกว่า แรงจูงใจนับเป็นอีกทักษะของานในอนาคต บริษัทต้องการคนที่คิดว่าต้องทำได้ดีกว่าเดิม เป็นสกิลที่อยู่ในใจเป็นแบบนี้ตลอดชีวิต จนกระทั่งฝังอยู่ในวิญญาณของตัวเอง ขณะที่บางคนยังมีวิธีคิดที่ว่าไม่เห็นเป็นไร เงินน้อยไม่เป็นไร สกิลที่อยู่ในใจที่ต้องดีกว่าเดิมสอดคล้องกับยุคเอไอ วันนี้คนที่อยากใช้เอไอเพราะต้องการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น อยากทำงานมากขึ้น อยากได้โบนัส ซึ่งเชื่อมโยงไปถึงวิสัยทัศน์วิสัยทัศน์หมายถึงสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น แต่เป็นสิ่งที่นำเสนอหรือใส่ลงไปทำให้เกิดความฮึกเหิม อย่างไรก็ตามขณะนี้บริษัทในประเทศไทย 90% ขาดสกิลเรื่องแรงจูงใจ
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์กลยุทธ์สำคัญ 5 ประการสำหรับประเทศไทย
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์1. เพิ่มทักษะที่จำเป็นให้แก่บุคลากร: เตรียมคนไทยให้พร้อมด้วยความรู้และทักษะที่ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์2. สรรหาบุคลากรที่มีทักษะใหม่ๆ: ค้นหาและสนับสนุนผู้ที่มีศักยภาพในทักษะที่ตรงกับความต้องการของเศรษฐกิจยุคใหม่
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์3. ยกระดับกระบวนการทำงาน ด้วย Automation: ใช้ระบบอัตโนมัติช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุน
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์4. ปรับบทบาทการทำงานของบุคลากร: ให้บุคลากรมีคุณค่าเพิ่มในงานยุคใหม่
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์5. ผสานเทคโนโลยีใหม่ๆ ให้เข้ากับการทำงาน: เชื่อมโยงเทคโนโลยีล้ำสมัยเพื่อสร้างนวัตกรรมที่เพิ่มคุณค่าและความสามารถในการแข่งขัน
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์ศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ กล่าวเพิ่มเติมว่าเมื่อปีที่แล้วโลกคุยเรื่องเอไอ แต่ในปี 2568 ตำแหน่งงานที่ต้องการ คือผู้เชี่ยวชาญด้านไอเอเพราะด้วยบิ๊กดาต้ามีจำนวนมากขึ้น ซึ่งตำแหน่งที่สำคัญผู้ควบคุมความปลอดภัยของการใช้เอไอ เรียนรู้การเก็บข้อมูล ขณะที่งานที่หายไปถูกปรับเปลี่ยนไปใช้เอไอแทน ดังนั้นบุคลากรที่องค์กรต้องการจึงต้องมีที่มีทักษะดังนี้ 1.ทักษะในการคิดเชิงวิเคราะห์ 2.ทักษะการยึดหยุ่นและการปรับตัว 3.ทักษะในการเป็นผู้นำ ซึ่ง 49 เปอร์เซ็นต์ของคนที่จะอยู่ในระบบงานจะถูกปรับเปลี่ยน ขณะที่ 59 เปอร์เซ็นต์ของคนที่อยู่ในระบบงานจะต้องเริ่มต้นมาเรียนใหม่ มหาวิทยาลัยจะปรับการเรียนที่ไม่ต้องเรียนแล้วมีดีกรีใช้เวลา 4 ปีเพื่อรับปริญญาแล้ว แต่จะมีการปรับหลักสูตรระยะสั้น 6 เดือนเพื่อรองรับรูปแบบงานใหม่ๆ หรือคนที่เรียนจบปริญญาตรีแล้วกลับมาเรียนใหม่
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์รวมทั้งจะหมดยุคที่ใช้ข้อสอบชุดเดียวในการวัดความสามารถของคน เพราะแต่ละคนมีพรสวรรค์แตกต่างกัน หน้าที่ขององค์กรคือบริหารจัดการความสามารถ พรสวรรค์ของคน เมื่อไม่มีทักษะในงานนั้นๆก็ไม่ควรทำ รวมถึงคนรุ่นใหม่จะรู้ว่าตัวเองมีพรสวรรค์ด้านไหนจะใช้พรสวรรค์ไปทำงานที่ถูกต้อง จนเกิดสกิลรู้ว่าตัวเองเก่งอะไรไม่เก่งอะไร รวมถึงการพัฒนาตัวเองให้เป็นคนไฝ่รู้เพื่อจะได้เป็นคนเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์“จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยก้าวสู่การเป็น ’The University of AI‘ มหาวิทยาลัยแห่งนี้มุ่งสร้าง “คนพันธุ์ใหม่” หรือ “Future Human” ที่ไม่ได้เป็นเพียงผู้เชี่ยวชาญในการใช้งาน AI (Artificial Intelligence) แต่ยังเปี่ยมด้วยทักษะที่เป็นเอกลักษณ์อย่าง II (Instinctual Intelligence) หรือ “ปัญญาสัญชาตญาณ” ซึ่งสร้างสรรค์ปัญญาที่ไม่อาจประดิษฐ์ขึ้นได้ ที่สำคัญ ‘คนพันธุ์ใหม่’ จะต้องไม่ได้มีเพียงสมองที่ชาญฉลาด แต่ต้องมีหัวใจที่ดีงาม ที่จะเปลี่ยนความสามารถทางเทคโนโลยีให้เป็นพลังที่สร้างคุณค่าแก่ทั้งตนเองและสังคม”
เปิดทักษะแห่งอนาคตเดลินิวส์