【superslot 4d】‘เทรนด์’อารมณ์ปี 67 ‘คลั่งไคล้น่ารัก’ นี่ก็ใช่‘กระจกสังคม?’ | เดลินิวส์
ทั้งนี้ เรื่องนี้นักวิชาการมานุษยวิทยาและสังคมวิทยาก็ให้ความสนใจ โดยวิเคราะห์ “เทรนด์ฮิต” นี้ไว้ว่า ก็ “เปรียบเป็นกระจกสังคมไทย” ที่
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์ช่วย “สะท้อนภาพอารมณ์ของผู้คน”
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์อารมณ์ที่มี “ต่อเรื่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น”
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์เกี่ยวกับการวิเคราะห์นี้ ก็เป็นส่วนหนึ่งจากบทความหัวข้อ “กระจกสังคมประเทศไทย ปี 2567” ที่จัดทำโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร และมีการเผยแพร่อยู่ใน www.sac.or.th โดยสำหรับมุมมองที่มีต่อ “กระแสฮิตความน่ารัก” ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในคนไทยในปี 2567 นี้ ทางนักวิชาการ คือ วิมล โคตรทุมมี ฝ่ายวิจัยและส่งเสริมวิชาการของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ได้มีการสะท้อนเรื่องนี้ไว้ โดยวันนี้ทาง “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” นำข้อมูลมาสะท้อนต่อ ซึ่งเป็นชุดข้อมูลจากบทความ ชื่อ “ButterBear และArt Toy: วัฒนธรรมสมัยนิยมของความน่ารัก” ซึ่งนักวิจัยรายนี้ได้วิเคราะห์เรื่องนี้เอาไว้น่าสนใจ
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์ทั้งนี้ ทางนักวิชาการฝ่ายวิจัยและส่งเสริมวิชาการ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ได้มีการฉายภาพ “ปรากฏการณ์สำคัญ” เรื่องนี้ไว้ว่า “หมีเนย และอาร์ตทอย” ถือเป็น ภาพสะท้อนชัดเจนของการเติบโตของ “วัฒนธรรมสมัยนิยมแนวน่ารัก”ที่เป็นหนึ่งใน วัฒนธรรมป๊อบ หรือ Pop Culture โดยในปี 2567 กระแสของ “หมีเนย” กับ “อาร์ตทอย” ได้รับความนิยมและเป็นกระแสมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกับ “กระแสความนิยม” ดังกล่าวนี้ เกิดขึ้นจากหลายปัจจัย อาทิ เกิดจากการสร้างรูปลักษณ์ การปรับแต่ง (customize) และการสร้างเรื่องเล่า เพื่อนำเสนอความเป็นตัวตนแก่แฟนคลับ
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์นี่เป็นคำอธิบายเบื้องต้นของกระแสนี้
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์“กระแสฮิต” เกี่ยวกับ “ความน่ารัก”
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์อย่างไรก็ตาม แต่ “จุดเด่น” ที่เห็นชัดเจนจาก “ความนิยมความน่ารัก” ก็คือ การ “สร้างคุณค่า คุณลักษณะร่วม” ที่เกิดขึ้นทั้งกับหมีเนยและของเล่นอาร์ตทอย จนทำให้เกิด การกำหนดทิศทางความหมายของความน่ารักอย่างยืดหยุ่น (flexible cuteness) โดยนักวิชาการต่างประเทศ คือ Joshua Paul Dale ได้นิยามไว้ว่า ความน่ารักเป็นประสบการณ์ทางอารมณ์ชนิดหนึ่งที่เป็นเทรนด์ของวัฒนธรรมป๊อบทั่วโลก ดังนั้น การศึกษาความน่ารักจึงไม่ใช่การอธิบายข้อเท็จจริงที่ตอบสนองต่อความน่ารัก แต่เกี่ยวข้องกับ การรู้การเข้าใจ และเรื่อง ความสัมพันธ์ ระหว่างคน วัตถุสิ่งของ หรือสัตว์น่ารัก
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์ที่เป็น “กระแสฮิตต่อเนื่องในไทย”
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์ทั้งหมีเนย ลาบูบู้ รวมถึงน้องหมูเด้ง
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์จาก “เทรนด์ฮิต” ดังกล่าวนี้ กับ “กระแสนิยมความน่ารัก” นี้ ทาง วิมล ผู้จัดทำบทวิเคราะห์-บทความ ได้ชวนตั้งคำถามไว้ว่า แล้ว เพราะเหตุใดสังคมจึงยอมรับ หรือสมาทานให้กับความน่ารัก? ซึ่งคำตอบเรื่องนี้ อาจจะ “สะท้อนได้ถึ
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์ปฏิสัมพันธ์ทางอารมณ์และชีวิตทางสังคมของคนไทย” ที่เกิดขึ้นในยุคนี้ จนส่งผลให้เกิด “การแสดงออกร่วมกันทางสังคม” ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ยกตัวอย่างเช่น “กรณีความนิยมหมีเนย” ซึ่งก็ สามารถ “สะท้อนให้เห็นระดับความสุขของผู้คน” ในปัจจุบัน ที่กระตุ้นให้เกิด “พฤติกรรมคลั่งรัก”เพื่อ “เป้าหมายสำคัญ”นั่นก็คือ
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์“ลดจุดเจ็บปวดในชีวิต”จากการที่ผู้คน
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์เผชิญความเหงา “มีความเหงาเรื้อรัง!!”
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์“เพื่อลดจุดเจ็บปวดในชีวิตประจำวันที่เกิดขึ้น ทำให้หลาย ๆ คนนั้นจึงต้องการหรือแสวงหาสิ่งที่จะมาช่วยสร้างความสุขให้กับพวกเขาในชีวิตประจำวัน ถึงแม้อาจต้องมีการจ่ายทุนทรัพย์เพื่อสนับสนุนความรักในลักษณะนี้หรือในรูปแบบเช่นนี้ก็ตาม แต่ หลายคนก็ยอมควักจ่ายอย่างเต็มใจ เพราะในอีกด้านหนึ่งผลตอบแทนจากการที่ได้พึ่งพิงความรักแนวนี้มักจะไม่ทำให้เกิดความผิดหวัง หรือเป็นความรักที่หลายคนมองดูแล้วว่า ไม่ต้องกังวลว่าจะสูญเสียความรู้สึก จนเกิดวลีฮิต รักน้องเนยไม่เจ็บเลยสักวัน ขึ้นมา” เป็นการสะท้อน “ที่มาของเทรนด์ฮิต” ดังกล่าว
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์“พฤติกรรมคลั่งความน่ารัก” ของผู้คน
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์ที่ลึก ๆ “เพื่อลดความเจ็บปวดในชีวิต”
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์ทั้งนี้ วิมล โคตรทุมมี สะท้อนถึง“ปรากฏการณ์ฮิตความน่ารัก”ที่เกิดขึ้นในปี 2567 นี้ไว้ด้วยว่า การนิยมความน่ารักในวัฒนธรรมป๊อบไทยที่เกิดขึ้นแบบต่อเนื่องนั้น สามารถ สะท้อนให้เห็น “อารมณ์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการภายในสังคม” โดยที่ อารมณ์มีส่วนในการกำหนดหรือทำให้เกิด “การแบ่งปันคุณค่าทางสังคมร่วมกัน” ในผู้คน และช่วยทำให้ “ก้าวข้ามขอบเขตนิยามความน่ารักแบบเก่า” เช่น กรณีตุ๊กตาลาบูบู้ ที่มีความหน้าร้าย แต่ก็กลายเป็นความน่ารักอีกแบบหนึ่งของผู้คน ที่ผู้คนรับรู้ร่วมกันถึง “ความน่ารักในอีกรูปแบบหนึ่ง” ซึ่งแตกต่างจากความน่ารักในรูปแบบเดิม ๆ
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์เหล่านี้คือลึก ๆ กรณี “ฮิตความน่ารัก”
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์ฮิตความน่ารักนี่ “ปีนี้คนไทยฮิตมาก”
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์หรือ “บ่งชี้ ชีวิตเจ็บปวดกันมาก??”.
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
เทรนด์อารมณ์ปีคลั่งไคล้น่ารักนี่ก็ใช่กระจกสังคมเดลินิวส์