【sky transfer centre】เรื่อง “มะเร็งต่อมน้ำเหลือง” | เดลินิวส์

มะเร็งต่อมน้ำเหลือง พบได้บ่อยลำดับที่ 5 ในคนไทย สามารถพบได้ทุกช่วงอายุแล้วแต่ชนิด โดยพบได้ประมาณ 3,000 4,000 คนต่อปี เนื่องจากเป็นมะเร็งที่เกิดกับต่อมน้ำเหลือง จึงเกิดได้ทุกบริเวณของร่างกาย ตั้งแต่บริเวณรักแร้ คอ ขาหนีบ ตามข้อพับ ในช่องอก และในช่องท้อง นอกจากนี้เซลล์ต่อมน้ำเหลืองยังมีอยู่ทุกอวัยวะในร่างกาย สามารถเกิดเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองได้ทั้งสิ้น เช่น มะเร็งต่อมน้ำเหลืองบริเวณลำไส้ มะเร็งต่อมน้ำเหลืองในสมอง เป็นต้น โดยทั่วไปแล้ว มะเร็งต่อมน้ำเหลืองเป็นมะเร็งที่มีการพยากรณ์โรคดีชนิดหนึ่ง หากได้รับการรักษารวดเร็ว ผู้ป่วยมากกว่าครึ่งหนึ่ง สามารถหายขาดได้และกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติ ทั้งนี้อาจขึ้นกับชนิดและระยะของโรค

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

มะเร็งต่อมน้ำเหลือง แบ่งประเภทออกเป็น

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

  1.  มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin lymphoma) ผู้ป่วยมักจะมีต่อมน้ำเหลืองโตบริเวณคอและช่องอก ให้การรักษาโดยการใช้ยาเคมีบำบัดร่วมกับการฉายแสง โอกาสหายขาดสูง

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

  2.  มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน (Non-Hodgkin lymphoma) พบมาก และแบ่งย่อยออกได้อีกประมาณ 30 ชนิด แต่แบ่งตามลักษณะการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้เป็น 2 แบบ คือ

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

                   •มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดรุนแรง (Aggressive lymphoma) การแบ่งตัวและแพร่กระจายเกิดอย่างรวดเร็ว มีอาการรุนแรง ดังนั้นจึงตอบสนองกับยาเคมีบำบัดซึ่งออกฤทธิ์กับเซลล์มะเร็งที่แบ่งตัวอยู่ค่อนข้างดี กลุ่มนี้ต้องรักษาทันที หากไม่รักษาผู้ป่วยอาจเสียชีวิตใน 6 เดือน ถึง 2 ปี แต่ถ้าได้รับการรักษาทันท่วงที มีโอกาสหายขาดจากโรคได้มาก แม้จะอยู่ในระยะไหนก็ตาม

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

                   •มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดค่อยเป็นค่อยไป (Indolent lymphoma) การแบ่งตัวและแพร่กระจายค่อนข้างช้า อาการเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่รุนแรงแต่เรื้อรัง กลุ่มนี้มักไม่ค่อยหายขาดด้วยเคมีบำบัดที่มีอยู่ในปัจจุบัน จึงรักษาเมื่อมีข้อบ่งชี้ และติดตามอาการเป็นระยะ

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

ปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุของมะเร็งต่อมน้ำเหลือง

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

สาเหตุของมะเร็งเกิดจากการกลายพันธุ์ของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดลิมฟอยด์ (lymphoid) โดยมีปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ได้แก่

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

    การติดเชื้อไวรัส เช่น เอชไอวี (HIV) ไวรัสตับอักเสบ ซี (HCV) และ EBV (Epstein-Barr Virus) เป็นต้น

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

    การติดเชื้อแบคทีเรีย ที่ทำให้เกิดกระเพาะอาหารอักเสบเรื้อรัง

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

    พันธุกรรม

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

    ภาวะภูมิคุ้มกันต่ำจากการได้รับยา

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

    สารเคมีที่มีสารก่อมะเร็งอยู่ เช่น สารกำจัดศัตรูพืช เป็นต้น

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

ดังนั้น การป้องกันของมะเร็งต่อมน้ำเหลือง จึงทำได้โดยการหมั่นสังเกตตัวเอง ตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี หากเจ็บป่วยให้รีบไปรักษา หลีกเลี่ยงการสัมผัสสารเคมีโดยตรง และรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

อาการของมะเร็งต่อมน้ำเหลือง แบ่งเป็น

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

  1.  คลำได้ต่อมน้ำเหลืองโตหรือเป็นก้อนบริเวณต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น คอ ใต้รักแร้ ขาหนีบ เป็นต้น

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

  2.  อาการเฉพาะที่ที่เกิดจากต่อมน้ำเหลืองโตในบริเวณนั้น ๆ เช่น แน่นหน้าอก หายใจลำบาก ปวดแน่นท้อง ท้องอืด ปวดศีรษะ เป็นต้น

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

  3.  อาการทางระบบหรือ B-symptom เช่น อาการไข้ที่ไม่ทราบสาเหตุเป็นเวลานานกว่าสองสัปดาห์ เหงื่อออกตอนกลางคืน และน้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ หรือเบื่ออาหารผิดปกติ

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์Hand touching throat of patient

การตรวจวินิจฉัย

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

จำเป็นที่จะต้องตัดชิ้นเนื้อต่อมน้ำเหลือง เพื่อไปตรวจทางพยาธิวิทยาและย้อมสีชิ้นเนื้อเพิ่มเติม โดยการดูเซลล์ที่ผิดปกติภายใต้กล้องจุลทรรศน์ นอกจากนี้แล้ว แพทย์จะทำการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมโดยการเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) ทั้งช่องอกและช่องท้อง รวมถึงการเจาะไขกระดูกตรวจ เพื่อบ่งบอกระยะของโรค (ระยะ 1-4)

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

การรักษามะเร็งต่อมน้ำเหลือง

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

ปัจจุบัน ให้การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด ร่วมกับยามุ่งเป้าที่เริ่มมีการศึกษาวิจัยและนำมาใช้มากขึ้นในปัจจุบัน ฉายแสงในบางกรณี และการปลูกถ่ายไขกระดูกในกรณีที่กลับเป็นซ้ำ นอกจากนี้ยังมีวิธีการรักษาใหม่สำหรับโรคที่กลับเป็นซ้ำด้วยการใช้เซลล์บำบัด (CAR-T cell) ซึ่งยังอยู่ในช่วงการศึกษาวิจัยในประเทศไทย

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

เกร็ดการดูแลตนเอง สำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

สิ่งสำคัญสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด คือ การป้องกันการติดเชื้อ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ง่าย และรุนแรงกว่าโดยทั่วไป เนื่องจากภูมิคุ้มกันที่ต่ำลง แนะนำให้

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

    รับประทานอาหารทำใหม่ สุกสะอาดให้ครบห้าหมู่ เลือกรับประทานผลไม้เปลือกหนา เช่น เงาะ มังคุด แก้วมังกร และส้ม เป็นต้น

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

    หลีกเลี่ยงสถานที่ชุมชนที่แออัด ซึ่งเสี่ยงต่อการรับเชื้อ

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

    นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำลังกายตามเหมาะสม แต่หลีกเลี่ยงการกระทบกระแทก เพราะในช่วงที่ได้ยา อาจมีเกล็ดเลือดต่ำ ทำให้เลือดออกง่ายได้

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

    หากมีไข้ให้รีบไปโรงพยาบาล

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

ความเกี่ยวข้องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองกับการฉีดวัคซีนโควิด-19 ผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองและมะเร็งทางโลหิตวิทยาควรรับการฉีดวัคซีนโควิด-19 เนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มีภูมิต้านทานต่ำ หากติดเชื้อไวรัสจะทำให้มีโอกาสเกิดอาการรุนแรง โดยสามารถรับวัคซีนได้ตั้งแต่แรกวินิจฉัยระหว่างรับการรักษาหรือเมื่อรักษาครบแล้ว โดยแนะนำให้ปรึกษาแพทย์เจ้าของไข้

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

ทั้งนี้ควรหมั่นสังเกตความผิดปกติของร่างกาย และรีบปรึกษาทันที เมื่อพบความผิดปกติ เนื่องจากการรับการรักษาตั้งแต่มะเร็งอยู่ในระยะต้น ๆ จะส่งผลให้การรักษาเกิดประสิทธิภาพมากกว่าการรักษาเมื่อมะเร็งเริ่มลุกลาม

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

ข้อมูลจาก แพทย์หญิงศศินิภา ตรีทิเพนทร์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรศาสตร์โรคเลือด สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

นายแพทย์สุรพงศ์  อำพันวงษ์

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์

คลิกอ่านบทความทั้งหมดได้ที่นี่

เรื่องมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเดลินิวส์