【fox888.】หนีธรณีไหว! ดูญี่ปุ่น ‘พื้นที่หลบภัย’ ก็น่าคิด..ไทยต้องมี? | เดลินิวส์
ทั้งนี้ ปุจฉาข้างต้นถูกตั้งไว้เมื่อครั้งในประเทศไทยยังไม่ “อกสั่นขวัญผวาภัยแผ่นดินไหว” มากเท่าตอนนี้ ซึ่งกับกระทู้ที่ถูกตั้งไว้เมื่อ 6 ปีที่แล้ว มาถึงตอนนี้ก็ “น่าคิดจริงจัง”กับกรณี “พื้นที่หลบภัย”เมื่อเกิดเหตุร้าย เกิดภัยพิบัติ “แผ่นดินไหว” ที่ในไทยก็เพิ่งเกิดภาพ “แตกตื่นโกลาหล”
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์เกิดภาพ “ผู้คนพากันหนีตาย”
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์โดย “ต่างก็หนีกันไปในพื้นที่ต่าง ๆ”
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์และ “บางจุดก็อาจจะหลบภัยไม่พ้น!!”
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์เกี่ยวกับ “พื้นที่หลบภัย” เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น “แผ่นดินไหว” นั้น “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” ได้พยายามสืบค้นดูจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อหาข้อมูลว่า ไทยมีการกำหนดเรื่องนี้ไว้หรือไม่? ซึ่งเบื้องต้นเท่าที่พบคือมี “นิยาม” ปรากฏใน กฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564 ที่ได้ให้คำจำกัดความ “พื้นที่หลบภัย” ไว้ประมาณว่า หมายถึง พื้นที่ที่จัดไว้ภายในและภายนอกอาคารสำหรับเป็นพื้นที่พักรอการช่วยเหลือ กรณีเกิดอัคคีภัย หรือเหตุฉุกเฉิน หากแต่ ไม่มีข้อมูลรายละเอียดหรือข้อมูลรูปแบบที่ชัดเจนที่จะระบุว่า
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์พื้นที่หลบภัยควรมีหน้าตาเป็นยังไง?
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์ควรมีรูปแบบเช่นไร ที่ใดต้องมีบ้าง?
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์ทั้งนี้ เกี่ยวกับเรื่องของ “พื้นที่หลบภัยสำหรับประชาชนเมื่อเกิดภัยพิบัติหรือเหตุฉุกเฉิน” นั้น มี “กรณีศึกษาน่าสนใจ”ที่ทาง ผู้ใช้เฟซบุ๊กชื่อ “สามีดิฉันเป็นศิลปินญี่ปุ่น Sculptor s Wife JP” ได้มีการบอกเล่าเรื่องราว“พื้นที่หลบภัยของคนญี่ปุ่น”ขณะเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือ“เมื่อเจอแผ่นดินไหว”ไว้น่าสนใจ ซึ่งเป็นข้อมูลที่น่าจะเป็นประโยชน์กับคนไทย
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์
ทางผู้ใช้เฟซบุ๊กรายดังกล่าวบอกเล่าเอาไว้ โดยสรุปมีว่า จากเหตุแผ่นดินไหวใหญ่ครั้งล่าสุดคงจะเป็นเหตุการณ์ที่ไม่มีใครคิดว่าจะเกิดขึ้น ซึ่งหลังแผ่นดินไหวทางผู้ใช้เฟซบุ๊กรายนี้ก็ได้รับข้อความจากเพื่อน ๆ และญาติ ส่งมาถามว่า เมื่อเกิดเหตุแบบนี้จะต้องปฏิบัติตัวอย่างไร ซึ่งการหาจุดหลบภัยในอาคาร หลาย ๆ คนก็คงพอทราบกันอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม แต่กลับมี“ปัญหาใหญ่ของคนไทย”ที่จากเหตุแผ่นดินไหวล่าสุดที่เกิดขึ้น ทำให้ หลาย ๆ คนอาจมีปุจฉาว่า เมื่อหนีออกจากตึกหรืออาคารแล้วควรจะไปหลบภัยที่ไหนต่อ?ระหว่างที่กำลังรอให้สถานการณ์ปลอดภัย นี่เป็นปุจฉา-เป็นคำถามน่าคิด
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์และจากคำถามนี้ ทางผู้ใช้เฟซบุ๊กรายดังกล่าวมีการสะท้อนไว้ว่า ปกติเวลาคนไทยซ้อมหนีไฟมักจะจบลงแค่ลงมาข้างล่างแล้วก็แยกย้ายกันไป แต่ไม่ได้มีการรวมกลุ่มไปหลบในพื้นที่ปลอดภัย ซึ่งแตกต่างจาก ประเทศญี่ปุ่น ที่เมื่อมีภัยพิบัติ หรือเกิดเหตุฉุกเฉินขึ้น แต่ละชุมชนหรือในแต่ละพื้นที่มีการ“จัดพื้นที่หลบภัยไว้รองรับ”ซึ่งคนในพื้นที่ จะรู้กันว่า หากเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินขึ้นมาแล้วจะต้องไปหลบภัยที่พื้นที่ใด หรือสถานที่ใดเป็นพื้นที่หลบภัยโดยพื้นที่หลบภัยที่จัดไว้นี้ยังมีวัตถุประสงค์สำคัญคือ เพื่อให้ง่ายต่อการติดต่อและการนับรายชื่อ ซึ่งนี่ เป็นข้อแตกต่างระหว่างญี่ปุ่น ไทย
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์นอกจากนี้ทางผู้ใช้เฟซบุ๊กคนเดิมได้มีการตั้งข้อสงสัยว่า ที่จริงแล้ว กรุงเทพฯ มีสวนสาธารณะใหญ่พอสมควร ซึ่งต่างจากโตเกียวที่พยายามขอซื้อพื้นที่คืนจากย่านต่าง ๆ จากภาคเอกชน เพื่อทำสวนสาธารณะชุมชน ซึ่งพื้นที่สวนสาธารณะที่รัฐบาลซื้อกลับมานั้น นอกจากจะใช้เป็นสถานที่พักผ่อนออกกำลังกาย ยังถูกปรับให้เป็นพื้นที่รับผู้ประสบภัย ทำให้คนโตเกียวทุกคนรู้ว่า เมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติ หรือเหตุฉุกเฉิน ควรไปเจอกันที่ไหน หรือต้องไปที่ใดสำหรับใช้เป็น “พื้นที่หลบภัย” โดยในพื้นที่หลบภัยก็จะมีทั้งน้ำดื่ม อาหาร มีทั้งห้องน้ำ ไฟฟ้า และโทรศัพท์ ที่ทำให้ง่ายต่อการช่วยเหลือมากขึ้น นี่เป็นข้อมูลที่น่าสนใจ
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์กรณี“พื้นที่หลบภัย”ของ “คนญี่ปุ่น”
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์ที่“ใช้สวนสาธารณะ”เพื่อประโยชน์นี้
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์ทั้งนี้ ผู้ใช้เฟซบุ๊กคนเดิมโพสต์รายละเอียดเรื่องนี้ไว้ด้วยว่า ยกตัวอย่างเช่น Ike sun park สวนสาธารณะรองรับภัยที่ใหญ่ที่สุดในเขตโทชิม่าของโตเกียว ที่สร้างโดยเวนคืนโรงกษาปณ์เก่า การสร้างสวนนี้มีวัตถุประสงค์ให้เป็นสวนสาธารณะหลักเพื่อรองรับภัยของเขตนี้ โดยในสวนแห่งนี้เตรียมสาธารณูปโภคต่าง ๆ ครบครันไว้รองรับผู้คนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติ
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์สวนสาธารณะแห่งนี้ ที่เป็น “พื้นที่หลบภัยของคนญี่ปุ่น” ในสวนนั้นจะ มีแหล่งน้ำหลัก เพื่อเป็นจุดหลักในการใช้น้ำดับไฟ กับเป็นแหล่งน้ำดื่มของผู้ประสบภัย,มีแหล่งไฟฟ้าสำรองเผื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน, มีคลังเก็บอาหารโดยมีแหล่งเก็บข้าวสารอาหารแห้งเพื่อผู้ประสบภัย ขณะที่ม้านั่งในสวนสาธารณะนี้ถูกออกแบบเป็นที่เก็บเตาไว้ให้ผู้ประสบภัยใช้ทำอาหาร, มีจุดจอดเฮลิคอปเตอร์และรถบัส เพื่อเป็นจุดเคลื่อนย้ายคนออกจากพื้นที่ และก็ยังมีแนวต้นไม้ป้องกันไฟโดยปลูกต้นโอ๊กขาวที่เป็นต้นไม้ทนไฟ หากแผ่นดินไหวแล้วไฟไหม้ต้นไม้ก็จะทำหน้าที่ป้องกันไฟได้ นี่เป็นข้อมูล “พื้นที่หลบภัย”ในสวนสาธารณะ กรณี“แผ่นดินไหว”ของคนญี่ปุ่น ที่ผู้ใช้เฟซบุ๊กชื่อ“สามีดิฉันเป็นศิลปินญี่ปุ่น Sculptor s Wife JP” บอกเล่าไว้
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์“แผ่นดินไหว” ไทยยังไม่เจอเท่าญี่ปุ่น
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์กระนั้น “ก็น่าคิดถึงมาตรการรองรับ”
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์ที่ “รวมถึงพื้นที่หลบภัย ได้จริง ๆ”.
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
หนีธรณีไหวดูญี่ปุ่นพื้นที่หลบภัยก็น่าคิดไทยต้องมีเดลินิวส์