【::bnk game slot】‘ล่าแม่มด!!’ออนไลน์ ‘โซเชียลใจร้าย’ ไทยยัง‘แรงไม่แผ่ว!!’ | เดลินิวส์
“เมื่อใดที่มีคนมากขึ้น ผู้คนในนั้นก็มักจะรู้สึกรับผิดชอบต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นน้อยลง ซึ่งการล่าแม่มดในสื่อสังคมออนไลน์ก็เช่นกัน” เนื้อความข้างต้นนี้เป็นบางส่วนจาก “ทฤษฎีการกระจายความรับผิดชอบ (diffusion of responsibility)” และเป็นส่วนหนึ่งจากการสะท้อนไว้ผ่านบทความ “ในโลกออนไลน์ ทำไมเราถึงใจร้ายกับคนไม่รู้จัก?”โดย รวิตา ระย้านิล นักจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีการเผยแพร่อยู่ทาง www.psy.chula.ac.th
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์ข้อมูลนี้ “ตอบปุจฉา” กรณี “ทัวร์ลง”
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์กรณีที่เป็น “ปรากฏการณ์ออนไลน์”
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์ในระดับที่ถึงขึ้น “ใจร้ายออนไลน์??”
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์กับปรากฏการณ์ “รุมวิพากษ์วิจารณ์” ในโลกออนไลน์ ในโซเชียลมีเดีย หรือที่เรียกกันว่า“ทัวร์ลง” นั้น แม้ไม่ใช่เรื่องใหม่ที่น่าแปลกใจ มีทั้งคนทั่วไปและคนดังถูกทัวร์ลงกันแล้วมากมาย อย่างเมื่อเร็ว ๆ นี้กรณีรัก ๆ เลิก ๆ ของคนดังแวดวงบันเทิงบางคนก็มีทัวร์ลงอื้ออึง อย่างไรก็ตาม มองในภาพรวม ๆ กรณีทั่ว ๆ ไปไม่เฉพาะเจาะจงใคร ในบรรดาลูกทัวร์ที่ลงวิพากษ์ผู้อื่นนั้นนับวันก็ดูจะมีรายที่ชวนสะกิดใจหรือทำให้เกิดคำถามมากขึ้นเรื่อย ๆ ว่า “แรงเกินเหตุไปหรือเปล่า??” หรือ “ใจร้ายเกินไปหรือไม่??” ซึ่งเกี่ยวกับเรื่องนี้วันนี้ “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” จะสะท้อนต่อข้อมูลเพื่อย้ำให้ลองพินิจกันเน้น ๆ อีกครั้ง
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์ทั้งนี้ กับเรื่องนี้ในบทความ “ในโลกออนไลน์ ทำไมเราถึงใจร้ายกับคนไม่รู้จัก?” ทางนักจิตวิทยาได้ระบุไว้ หลักใหญ่ใจความมีว่า คนท่องโลกออนไลน์ ไม่ว่าจะแพลตฟอร์มใดก็ตาม น่าจะรู้สึกเหมือนกันว่า คนยุคนี้มักพูดจาหรือพิมพ์ถึงกันโดยรักษาน้ำใจน้อยลง ซึ่งต่างจากเวลาที่สนทนาแบบเจอหน้ากัน ที่โดยทั่วไปจะพยายามรักษามารยาท หรือเกรงใจเวลาที่จะพูดอะไร โดยเฉพาะ “กับคนไม่รู้จัก”แต่ “ในโลกออนไลน์ดูจะต่างจากโลกจริงโดยในโลกออนไลน์มักจะใจร้ายกันง่าย!!”
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์พฤติกรรมที่เกิดขึ้นนี้ ทาง รวิตา นักจิตวิทยา ยังได้ระบุไว้ว่า สิ่งที่น่าสนใจกรณีโลกออนไลน์คือมีการ ใช้ถ้อยคำร้ายแรงเชือดเฉือน หรือตัดสินถูกผิดก่อนที่จะทราบข้อมูลจริงกันอย่างง่าย ๆ ทั้งที่มีกฎหมายหมิ่นประมาท มี พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และก็เกิดกรณีตัวอย่างอยู่เรื่อย ๆ ทว่าในภาพรวมก็ไม่สามารถหยุดยั้งการ “ทำร้ายด้วยถ้อยตำ” ในโลกออนไลน์หรือในโซเชียลมีเดียได้ ซึ่งเรื่องนี้ส่วนหนึ่งอาจมีปัจจัยจากเรื่อง “ความเป็นนิรนาม (anonymity)” ในโลกออนไลน์ ที่เอื้อต่อการ กระตุ้นให้เกิดความก้าวร้าวทางไซเบอร์ เพราะผู้คอมเมนต์นั้น “ซ่อนตัวตนอยู่ใต้ชื่อหรือรูปภาพอื่น” ได้ ซึ่งทำให้
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์“กล้า” ที่จะแสดงความคิดเห็นมากขึ้น
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์สามารถ “แสดงพฤติกรรม” ได้เต็มที่!!
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์นักจิตวิทยาท่านดังกล่าวยังได้ระบุไว้อีกว่า มีงานทดลองบางชิ้นที่พยายามหาคำตอบว่าคนเราจะเชื่อฟังผู้มีอำนาจจนถึงขั้นทำร้ายคนอื่นได้มากแค่ไหน? ที่มีผลทดลองพบว่า การแยกเหยื่อไว้อีกห้อง โดย “มองไม่เห็นกัน” รับรู้ได้เพียงเสียงร้องของเหยื่อหรือเสียงที่เงียบไปของเหยื่อ ก็เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผู้เข้าร่วมการทดลอง มักเพิ่มระดับการทำร้ายมากกว่าในยามปกติ โดยผลทดลองนี้ก็สะท้อนว่า การ “ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในร้อยพันข้อความโจมตี” เป็นปัจจัยที่ “เอื้อให้เกิดการยกระดับความก้าวร้าว” เพิ่มขึ้น ซึ่งยิ่งมีแอคเคาท์แสดงข้อความทางลบมากเท่าไร ข้อความรุนแรงก็ยิ่งปรากฏเพิ่มขึ้น!!
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์“เมื่อมีตัวเปิด และมีคนตามจำนวนมาก ความรับผิดชอบต่อถ้อยคำทางลบก็จะยิ่งหารกัน ทำให้การยับยั้งไตร่ตรองด้วยเหตุด้วยผลก็เกิดขึ้นน้อยลง” นี่เป็นไปตาม “ทฤษฎีการกระจายความรับผิดชอบ” หรือ diffusion of responsibilityและก็เป็นการอธิบายถึง “ปรากฏการณ์ทัวร์ลงที่ถึงขั้นใจร้าย” ที่เกิดขึ้นโดย “มีปัจจัยกระตุ้น” ทำให้
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์“ร้ายตามกระแสสังคมกันได้ง่าย ๆ”
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์ทั้งนี้ ในบทความโดยนักจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังระบุไว้ว่า “โลกออนไลน์” ซึ่งเป็น “พื้นที่เปิด” ทำให้ผู้คนมีอิสระในการเข้าถึงและมีส่วนร่วมได้ง่าย จุดเด่นนี้กลายเป็น “ดาบ 2 คม” และก็เป็น “ความท้าทายในสังคมยุคใหม่” ว่า จะใช้อิสระอย่างไรไม่ให้ละเมิดหรือกระทบผู้อื่นเกินไป?? ซึ่งแม้ตัวตนในโลกเสมือนอาจไม่ใช่ตัวตนทั้งหมดของคน ๆ หนึ่ง แต่ความรู้สึก-ความเจ็บปวดที่ได้รับกลับไม่ได้น้อยไปกว่าโลกจริง โดย “ข้อความที่ได้อ่าน เสียงที่ได้ยิน” ก็สามารถ ทำให้เกิดแผลบาดลึก สร้างรอยแผลใจให้คน ๆ หนึ่งได้ เช่นกัน ดังนั้น จำเป็นต้องฝึกให้มีสติระลึกรู้ตัวกันมากขึ้น “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” มากขึ้น ต้องระลึกว่า สิ่งที่แสดงออกไปนั้นถูกต้องหรือไม่? ผู้รับจะรู้สึกเช่นไร?
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์และฝึกทอดเวลาให้อารมณ์ความรู้สึกจางลง นี่ก็เป็นอีกสิ่งที่นักจิตวิทยาและผู้มีประสบการณ์ในโลกไซเบอร์แนะนำไว้ ซึ่งเมื่อสมองส่วนอารมณ์ผ่อนลง สมองส่วนเหตุผลก็จะทำหน้าที่ได้ดีขึ้น จะทำให้เกิดความเป็นกลางต่อเรื่องราว และต่อท่าทีของตนเองด้วย โดย การรอให้ตนเองได้ตกตะกอน หรือรอให้ได้ข้อมูลรอบด้านมากขึ้น ย่อมดีกว่าปล่อยความรู้สึกนึกคิดไปกับความวู่วาม อคติที่ครอบงำ หรือถ้าต้องการใช้พื้นที่สื่อโซเชียลเป็นช่องทางระบายอารมณ์ความรู้สึก ก็ยังทำได้โดยพิมพ์ข้อความลงไปแล้วเลือกเผยแพร่เฉพาะตัวเองแทนการโพสต์สู่สาธารณะทันที ที่ก็อาจช่วย “ลดความใจร้าย” ลงได้
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์“โซเชียลใจร้าย” นี่ “ไทยแรงไม่แผ่ว”
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์มีการ “รุมล่าแม่มด” กัน “เต็มสปีด”
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์บางคนก็ “เจอทัวร์ย้อนศร เละ!!”.
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
ล่าแม่มดออนไลน์โซเชียลใจร้ายไทยยังแรงไม่แผ่วเดลินิวส์