【เกมส์ฟาร์ม pc ฟรี】ประเทศไทยบนเวที COP26: บทบาทและจุดยืนคืออะไร จริงจังจริงใจแค่ไหน? – THE STANDARD

HIGHLIGHTSบทความนี้เป็นการวิเคราะห์เพื่อที่จะพิสูจน์ ‘ความจริงใจ’ ต่อนานาชาติว่าไทยเห็นความสำคัญของเรื่องนี้ ไทยจะต้องแสดงบทบาทและมีจุดยืนที่ก้าวหน้าและชัดเจน ซึ่ง ‘ความจริงใจ’ นี้มากกว่าการที่นายกฯ จะบินไปเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง บทความนี้เสนอว่า ประเทศไทยควรประกาศจุดยืน ‘การหยุดใช้ถ่านหิน’ ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่เป็นภัยที่สุด และเป็นชนิดพลังงานที่แต่ละประเทศในเอเชียยังต้องพึ่งพาอยู่ ไม่สามารถเลิกใช้ได้ในระยะสั้นถึงกลาง (โดยเฉพาะจีนและเวียดนาม) การแถลงจุดยืนในเรื่องการนี้คือโอกาสทองของไทย ในเวทีที่นับว่าสำคัญที่สุดอันดับต้นๆ ของโลก

ทุกวันนี้ เป็นเรื่องยากที่จะหลีกเลี่ยงประเด็น ‘การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ’ หรือ ‘โลกร้อน’ ในข่าว นับว่าเป็นความสำเร็จระดับหนึ่งในการยกระดับขึ้นมาเป็นวาระสำคัญในเวทีนานาชาติ สังเกตได้จากความสนใจต่อการประชุม COP26 ที่จะเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 31 ตุลาคม 12 พฤศจิกายน ที่เมืองกลาสโกว์ ประเทศสกอตแลนด์

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

ณ เวที COP26 แต่ละประเทศจะใช้โอกาสในการให้คำมั่นต่อบทบาทในการต่อสู้กับโลกร้อน เช่น การกำหนดเป้าหมายการปล่อยคาร์บอนเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) ซึ่งเส้นตายของประเทศส่วนมากคือปี 2050 (จากสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปถึงลาวและกัมพูชา) ผู้ก่อมลพิษสำคัญในภูมิภาคเอเชีย เช่น จีนและอินโดนีเซีย ได้ตั้งเป้าไว้สำหรับปี 2060 ซึ่งถูกมองว่ามีความล่าช้า

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

แต่ที่น่ากังวลที่สุดคือประเทศไทย โดยเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม ณ การประชุมประจำปีของสมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็ก (Global Compact Network Thailand) นายกรัฐมนตรี พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ประกาศเป้าหมายให้ประเทศไทยปล่อยก๊าซคาร์บอนเป็นศูนย์ภายในปี 2065 ซึ่งช้ากว่าประเทศส่วนใหญ่ถึง 15 ปี และยังช้ากว่าฟินแลนด์ที่ตั้งเป้าไว้ภายในปี 2035 มากถึง 30 ปี

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

ในปัจจุบัน ประเด็นนี้มีนัยยะทางการทูตและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่สำคัญอย่างยิ่ง ความเพิกเฉยของไทยจะส่งผลต่อภาพพจน์ ทำให้เวที COP26 มีความสำคัญอย่างสูง โดยเราจะต้องใช้โอกาสนี้ในการแสดงถึง ‘ความจริงใจ’ ในประเด็นนี้

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

บทความนี้วิเคราะห์ว่า เพื่อที่จะพิสูจน์ ‘ความจริงใจ’ ต่อนานาชาติว่าเราเห็นความสำคัญของเรื่องนี้ ไทยจะต้องแสดงบทบาทและมีจุดยืนที่ก้าวหน้าและชัดเจน ซึ่ง ‘ความจริงใจ’ นี้มากกว่าการที่นายกฯ จะบินไปเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง (ที่จริงควรจะต้องไปอยู่แล้ว) โดยบทความนี้เสนอว่า

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

ประเทศไทยควรประกาศจุดยืน ‘การหยุดใช้ถ่านหิน’ ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่เป็นภัยที่สุด และเป็นชนิดพลังงานที่แต่ละประเทศในเอเชียยังต้องพึ่งพาอยู่ ไม่สามารถเลิกใช้ได้ในระยะสั้นถึงกลาง (โดยเฉพาะจีนและเวียดนาม) การแถลงจุดยืนในเรื่องการนี้คือโอกาสทองของไทย ในเวทีที่นับว่าสำคัญที่สุดอันดับต้นๆ ของโลก

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหนทำไมต้องถ่านหิน?

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

แม้การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลทุกประเภท (ถ่านหิน น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ) ในการผลิตพลังงานจะก่อให้เกิดการปล่อยคาร์บอน ถ่านหินมีปริมาณการปล่อยต่อหน่วยพลังงานผลิตที่สูงที่สุด (ถ่านหินปล่อยปริมาณก๊าซคาร์บอนประมาณสองเท่าของก๊าซธรรมชาติต่อหน่วยพลังงาน)

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่ไม่น่าแปลกใจที่ปัจจุบันการเลิกใช้โรงไฟฟ้าถ่านหินเป็นวาระสำคัญ หลายประเทศได้ออกเป้าหมายและแนวทางการควบคุมถ่านหิน เช่น การประกาศของจีนในเดือนกันยายน ที่จะหยุดการลงทุนในโครงการถ่านหินทั่วโลก โดยคาดว่านโยบายนี้จะประหยัดได้ถึง 20 กิกะตันในระยะเวลา 30 ปี หรือเทียบเท่ากับการประหยัดจากเป้าของการปล่อยคาร์บอนเป็นศูนย์ของสหภาพยุโรป (แต่แน่นอนว่าจีนก็ยังถูกตั้งคำถามเกี่ยวกับการลงทุนในถ่านหินภายในประเทศ โดยเฉพาะการที่ 76% ของโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ทั้งหมดในปี 2020 อยู่ที่จีน)

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

ปัจจุปันมีความพยายามในการรวมตัวผลักดันการเลิกใช้ถ่านหิน เช่น ‘No New Coal’ ที่เป็นการรวมตัวของหลายประเทศสำหรับต่อต้านการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ และ ‘Powering Past Coal Alliance’ โดย 41 ประเทศที่นอกเหนือจากการคัดค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่แล้ว ยังผลักดันการยุติการใช้ถ่านหินทั้งหมดที่มีอยู่ภายในปี 2030 ที่น่าสนใจคือ 41 ประเทศนี้ ไม่มีตัวแทนจากทวีปเอเชียเลย นับว่าเป็นโอกาสของไทยที่จะมีบทบาทตรงนี้

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหนทำไมไทยถึงจะทำได้?

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

บทความนี้จะวิเคราะห์ว่ามีหลายปัจจัยที่ทำให้ประเทศไทย มีข้อได้เปรียบเหนือประเทศอื่นในการเลิกใช้ถ่านหิน ประกอบด้วย

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน‘บทบาทจำกัดของถ่านหินในภาคพลังงาน’ ของไทยนั้น พึ่งพาก๊าซธรรมชาติสำหรับการผลิตพลังงานไฟฟ้าเป็นหลัก และถ่านหินเป็นรอง ซึ่งแตกต่างจากประเทศส่วนใหญ่ในเอเชีย โดยเฉพาะอาเซียนที่เน้นถ่านหินเป็นหลัก ภาคพลังงานไทยใช้ถ่านหินเพียง 17% ต่างจากเวียดนามที่ใช้มากถึง 43% และอินโดนีเซีย 38% ทำให้ภารกิจการเปลี่ยนผ่านจากถ่านหินสู่พลังงานอื่นๆ โดยเฉพาะพลังงานทางเลือก เป็นเรื่องที่ซับซ้อนน้อยกว่าที่อื่น

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน‘โรงไฟฟ้าถ่านหินหลักเป็นของรัฐวิสาหกิจ’ เช่น โรงไฟฟ้าแม่เมาะของ กฟผ. ในจังหวัดลำปาง ที่มีขนาด 2,400 เมกะวัตต์ นอกเหนือจากนั้นยังมีอีกหลายแห่งที่ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ ในจังหวัดระยองที่อยู่ภายใต้เครือ ปตท. ซึ่งถ้าทิศทางการลดการใช้ถ่านหินมาจากรัฐบาลโดยตรงแล้ว การเจรจากับการชดเชยต่อรัฐวิสาหกิจเหล่านี้จะไม่ลำบากจนเกินไป

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน‘อุตสาหกรรมและห่วงโซ่อุปทานถ่านหินของไทยขนาดเล็ก’ แตกต่างจากเวียดนามและอินโดนีเซียที่อุตสาหกรรมถ่านหินเป็น ‘อุตสาหกรรมโมโน’ (Mono-Industry) ที่มีความเชื่อมโยงอันหนาแน่นระหว่างห่วงโซ่คุณค่าถ่านหินกับเศรษฐกิจและอัตลักษณ์ท้องถิ่น ซึ่งสำหรับประเทศเหล่านี้ ไม่ได้พึ่งถ่านหินสำหรับการผลิตไฟฟ้าอย่างเดียว แต่รวมถึงปัจจัยอื่นๆ เช่น การทำเหมืองถ่านหิน การจ้างงานในประเทศ และอุตสาหกรรมส่งออกถ่านหิน ในทางกลับกันประเทศไทยนั้นกลับต้องพึ่งพาถ่านหินนำเข้ามากถึง 64% และมากไปกว่านั้นยังมีข้อจำกัดของการผลิตภายในประเทศ ซึ่งรายงาน No New Coal ขององค์กร E3G พบว่าแผนติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าทดแทนที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะมีความล่าช้า เนื่องจากมีข้อจำกัดด้านอุปทานถ่านหินในเหมืองแม่เมาะ

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหนแล้วไทยจะทำให้ข้อได้เปรียบเหล่านี้เป็นประโยชน์ได้อย่างไร?

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

ประการสำคัญ คือการส่งข้อความที่ชัดเจนว่าจริงจังกับเรื่องนี้ผ่านการกำหนดเป้าหมาย ตัวอย่างเช่น การประกาศหยุดการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ทั้งหมด และหยุดการขยายเหมืองนับตั้งแต่วันนี้ หรือประกาศยกเลิกโรงไฟฟ้าถ่านหินที่ไม่ได้มีการกักเก็บคาร์บอน (Unabated Coal) ทั้งหมดภายในปี 2030 ต่อด้วยการยกเลิกจากโรงไฟฟ้าถ่านหินทุกประเทศภายในปี 2035

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

ต่อจากตั้งเป้าหมายคือการออกมาตรการและแผนงานที่ชัดเจน เช่น

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน‘โรงงานเก่า’ ควรจะต้องมีการเกษียณอายุก่อนกำหนด โดยผ่านการหารือกับผู้เกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน เป็นกรอบเวลาที่ไม่ฉับพลันจนเกินไปเพื่อที่จะให้เวลาผู้ประกอบการเตรียมตัว และมีการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอสำหรับการชดเชยผู้ประกอบการ

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน‘โรงงานแห่งใหม่’ ควรจะต้องถูกบังคับให้ทำการ Retrofit หรือใส่ชุดติดตั้งเพิ่มเติม เช่น การติดตั้งเทคโนโลยีการดักจับ การใช้ประโยชน์ และการกักเก็บคาร์บอน (Carbon Capture, Utilization and Storage: CCUS) หรือการตั้งเกณฑ์การใช้เชื้อเพลิงมลพิษต่ำสำหรับการผสมกับถ่านหิน เช่น เชื้อเพลิงชีวมวล แอมโมเนีย หรือเชื้อเพลิงขยะ (RDF) โดยทั้งหมดนี้จะทำได้ผ่านการลงทุนร่วมระหว่างภาครัฐและเอกชน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน‘การกำหนดราคาคาร์บอน’ ซึ่งมีความสำคัญในการทำให้ราคาพลังงานฟอสซิลสูงขึ้น โดยเฉพาะถ่านหิน การศึกษาของ IEA พบว่าเนื่องจากก๊าซธรรมชาติมีราคาสูง ทำให้มีข้อกังวลว่ามาตรการส่งเสริมพลังงานหมุนเวียนจะทำให้เกิดกรณีการเปลี่ยนผ่านโดยตรงจากก๊าซธรรมชาติไปสู่พลังงานหมุนเวียน โดยไม่ส่งผลกระทบต่อถ่านหินและจะดำเนินการต่อไปได้ (เนื่องจากราคาต่ำ) ดังนั้นจะต้องมีกำหนดราคาคาร์บอนเพื่อที่จะเพิ่มต้นทุนถ่านหิน (อย่างน้อยให้เท่ากับก๊าซธรรมชาติ) ซึ่งจะทำให้เป็นการเปลี่ยนผ่านจากถ่านหินไปสู่พลังงานหมุนเวียนแทน

 

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหน

ถ้าโลกเรามีการรักษาการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกให้ต่ำกว่า 2 องศาเซลเซียส (โดยมี 1.5 องศาเซลเซียสเป็นเป้าสูงสุด) ได้ตามข้อตกลงปารีสในปี 2015 งานวิจัยและการคาดการณ์เกือบทุกแห่งชี้ว่าสิ่งที่จะต้องสูญพันธุ์จากโลกนี้ คือใช้เชื้อเพลิงถ่านหิน ประเทศไทยของเราจะมีข้อได้เปรียบมากมายในการหยุดใช้เชื้อเพลิงนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคที่มีความยากลำบากและผลกระทบที่ซับซ้อน เราต้องใช้ข้อได้เปรียบนี้ให้เป็นประโยชน์ก่อนที่จะสายไป

ประเทศไทยบนเวทีCOPบทบาทและจุดยืนคืออะไรจริงจังจริงใจแค่ไหนTAGS: สิ่งแวดล้อม