【789 ทางเข้า】‘ล็อกเป้า’ก็น่าตามดู ‘วิจัยสุขภาพ’ ลุ้น‘นโยบายตรงจุด’ | เดลินิวส์

เนื้อความข้างต้นถูกระบุไว้ใน “การประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2567 (National UHC Conference 2024)” ที่จัดเมื่อ 11-12 ธ.ค. 2567 ที่ผ่านมา ซึ่งวันนี้ “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” หยิบยกบางประเด็นมาสะท้อน

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

ประเด็น “การรับมือ แก้ปัญหาโรค”

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

กับการ “ใช้งานวิจัยเพื่อประสิทธิภาพ”

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

งานวิจัยที่นำสู่การ “มีนโยบายตรงจุด”

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

ทั้งนี้ ในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2567 หรือ National UHC Conference 2024 อีกหนึ่งงานประชุมวิชาการด้านสุขภาพที่เป็นเวทีใหญ่ของแวดวงสาธารณสุข ซึ่งเวทีดังกล่าวนี้ เสียงสะท้อนในเวทีนี้มีหลายประเด็น มีหลายเรื่องน่าสนใจ และก็ทำให้เห็นภาพว่า “ปัญหาการรับมือด้านสุขภาพ ในไทยยังคงมีอยู่”รวมถึง

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

นำสู่การ “พิจารณาทางออก”ของปัญหา

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

หลักใหญ่ใจความสำคัญบางส่วนจากเวทีดังกล่าว มีการฉายภาพไว้ว่า ถึงแม้ตั้งแต่ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ากำเนิดขึ้นจะทำให้ไทยได้การยอมรับในระดับโลก เกี่ยวกับความก้าวหน้าใน “การรับมือปัญหาทางสุขภาพ” ในประชากรไทย หากแต่ไทยก็ยังคงต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพไม่น้อย โดยเฉพาะการรับมือและแก้ไขปัญหา “โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” หรือ NCDs ที่ เป็นสาเหตุการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรถึง 74% โดยรายงานล่าสุดของ สปสช. ปี 2567 พบว่า งบประมาณจากกองทุนบัตรทองกว่า 7.9 หมื่นล้านบาท ถูกใช้ไปกับการแก้ปัญหา NCDs และอีกราว 1.3 หมื่นล้านบาทถูกใช้เป็นค่ารักษา

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

นี่เป็นที่มาของแนวทาง “ล็อกเป้า”

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

ทำ “วิจัยปัญหาสุขภาพทิศทางใหม่”

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

ในเวทีดังกล่าวมีการอภิปรายเรื่อง “ก้าวต่อไปการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย” โดยสำหรับประเด็นเรื่องนี้ นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้ชี้ให้เห็นถึง “ความสำคัญของการใช้งานวิจัยเป็นฐานในการจัดทำนโยบาย” ไว้ว่า การที่ฝ่ายนโยบายจะกำหนดนโยบายใด ๆ โดยเฉพาะด้านสาธารณสุข จำเป็นต้องมีข้อมูลและองค์ความรู้ทางวิชาการมารองรับ ซึ่งเป็นหลักการสากลที่ทั่วโลกใช้กัน เพราะ ไม่เช่นนั้นผลลัพธ์นโยบายที่ได้อาจแก้ปัญหาไม่ตรงจุด รวมถึงอาจมีข้อผิดพลาด เกิดขึ้น

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

จนส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

ทาง นพ.ศุภกิจ ได้ยกตัวอย่างการทำวิจัยที่ล็อกเป้าชัดเจน ซึ่งส่งผลดีต่อการกำหนดนโยบายสุขภาพ ไว้ว่า เช่น การสำรวจสุขภาพคนไทยด้วยการตรวจร่างกาย (National Health Examination Survey) เมื่อ 10 ปีก่อน ทำให้พบว่ามีความชุกของผู้ป่วยเบาหวานในคนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปมากถึงราว 3 ล้านคน แต่เมื่อเทียบกับรายงานการเข้ารักษาโรคเบาหวานในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข กลับพบแค่ 8 แสนคน จึงนำสู่สมมติฐานว่า ไทยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานกว่า 1.8 ล้านคนที่ยังไม่ได้เข้าสู่กระบวนการรักษาในระบบ หรือไม่รู้ตัวว่าเป็นเบาหวาน และนี่ก็ได้นำสู่นโยบายผลักดันให้มีการ

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

“ตรวจคัดกรอง” เบาหวานกับความดัน

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

ทำให้ “มีผู้ป่วยเข้าสู่การรักษามากขึ้น”

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

อย่างไรก็ตาม แม้ตัวอย่างดังกล่าวจะสะท้อนให้เห็นความสำคัญของงานวิชาการ แต่กระนั้นก็ใช่ว่างานที่ผลิตออกมาทุกเรื่องจะไปถึงจุดนั้นได้ โดย นพ.ศุภกิจ ได้สะท้อนไว้อีกว่า ที่ผ่านมาการทำงานวิชาการด้านสาธารณสุขในไทยค่อนข้างกระจัดกระจาย และมักเป็นการเลือกศึกษาในประเด็นตามความเชี่ยวชาญและความสนใจ อีกทั้งขาดการจัดการในภาพใหญ่ รวมถึงงานวิชาการที่ผลิตออกมาเกินกว่าครึ่งไม่มีความสมบูรณ์เพียงพอที่จะนำไปให้ฝ่ายนโยบายต่อยอดใช้ประโยชน์ได้ นี่เป็น “อุปสรรค” ที่มีเกี่ยวกับเรื่องนี้ และได้นำสู่การ “ปรับทิศทางการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อให้ตอบโจทย์” การแก้ปัญหา

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

เพื่อ “ตอบโจทย์ฝ่ายนโยบาย” มากขึ้น

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

ทั้งนี้ การ “ล็อกเป้างานวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค” นั้น ผอ.สวรส. ระบุไว้ว่า เน้น 4 เป้าหมาย สำคัญ คือ 1.แก้ปัญหาพยาธิใบไม้ตับ ในภาคอีสานและภาคเหนือตอนบน เน้นให้นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง, 2.ขับเคลื่อนการวิจัยทางคลินิก ให้คนไทยมีโอกาสเข้าถึงยา เครื่องมือแพทย์ วิธีรักษาใหม่ ๆ, 3.พัฒนาระบบสุขภาพโดยมุ่งเน้นคุณค่า เพื่อให้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ายั่งยืน งบประมาณที่ใช้คุ้มค่ามากขึ้น, 4.ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ เพื่อผลักดันให้เกิดความเข้มแข็งและตอบสนองปัญหาได้เหมาะสม นี่เป็น “ทิศทางไทยนับจากนี้”กรณี “งานวิจัยด้านสุขภาพ”

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

“ล็อกเป้าวิจัยด้านสุขภาพ” นี่น่าสนใจ

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

และ “น่าตามดูไทยมีนโยบายตรงจุด”

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

เพื่อ “รับมือโรค-สู้โรค ได้ดียิ่งขึ้น”.

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์

ทีมสกู๊ปเดลินิวส์

ล็อกเป้าก็น่าตามดูวิจัยสุขภาพลุ้นนโยบายตรงจุดเดลินิวส์