【หวยโกสัมพี】‘ง่ายๆ’ทำได้แบบอิ่มๆ ‘มื้อลดเครียด’ ขจัดทุกข์‘เพิ่มเติมสุข’ | เดลินิวส์

ทั้งนี้ ความกดดันในชีวิต ความคาดหวังที่สูง ปัญหาเศรษฐกิจ สภาพสังคมปัจจุบัน เหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยทำให้ “คนยุคใหม่เครียดกันแบบเดลี่” และก็มีไม่น้อยที่ “พึ่งยาคลายเครียด” ซึ่งใช้เพียงชั่วครั้งชั่วคราวก็ว่าไป แต่ถ้าใช้ยาต่อเนื่องนาน ๆ ก็อาจมี “ผลเสียต่อสุขภาพ” ได้ จึงนำสู่คำถามข้างต้น

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

จะ “ขจัดทุกข์ในใจ” โดย “ไม่ใช้ยา”

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

นี่ก็มี “แนวทาง คำแนะนำน่าสนใจ”

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

ทำง่าย ๆ ผ่าน “มื้ออาหารครอบครัว”

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

เกี่ยวกับแนวทางง่าย ๆ ที่ “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” จะสะท้อนต่อข้อมูลวันนี้ เป็นข้อมูลจากบทความเรื่อง “มื้อครอบครัวสร้างสุข” โดย สุภรต์ จรัสสิทธิ์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ที่ได้ให้ข้อมูลไว้ว่า ผลสำรวจกลุ่มตัวอย่างคนทำงานในรั้วมหาวิทยาลัย จาก โครงการ HAPPINOMETER พบว่าคนทำงานเกือบ 1 ใน 5 มีความเครียดระดับสูงมากถึงมากที่สุด แต่ก็พบว่าระดับความเครียดจะค่อย ๆ ลดน้อยลง ถ้ากลุ่มตัวอย่างได้ใช้เวลากับครอบครัวเพิ่มขึ้น เช่น กินข้าวหรือทำกิจกรรมอื่น ๆ กับครอบครัว ซึ่งข้อมูลนี้แสดง ความสัมพันธ์ระหว่าง “ชีวิตครอบครัว” กับ “ระดับความเครียด”

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

ยิ่งมีกิจกรรมครอบครัวร่วมกันบ่อย ๆ

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

ก็ยิ่งช่วยป้องกันปัญหาความเครียดได้

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

สุภรต์ จรัสสิทธิ์

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

ทั้งนี้ ทางผู้จัดทำบทความยังได้เผยผลสำรวจจาก “โครงการศูนย์วิชาการมหาวิทยาลัยแห่งความสุขกับการสร้างเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน” ที่สำรวจความสุขคนทำงานในมหาวิทยาลัย ช่วงไตรมาสแรกของปี 2565-2567 ไว้ว่า เปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างระหว่าง คนที่มีเวลาทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัว เช่น ทานอาหารร่วมกัน กับ คนที่ขาดการทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัว หรือไม่มีมื้ออาหารกับครอบครัว พบว่า กลุ่มแรกมีระดับความเครียดต่ำกว่ากลุ่มที่สอง ซึ่งบ่งชี้ว่า “มื้ออาหารร่วมกับครอบครัวสามารถช่วยลดความเครียดได้”โดยอย่างน้อยบรรยากาศที่ดีในมื้ออาหารก็เป็นช่วงเวลาของการแสดงความรัก ความผูกพัน รวมถึงมีเวลาแบ่งปันเรื่องราวทั้งทุกข์และสุขที่เกิดขึ้น ซึ่งเหล่านี้จะเกิดในระหว่างมื้ออาหารได้

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

นี่เป็นผลสำรวจที่พบจากกลุ่มตัวอย่าง

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

กรณี “มื้ออาหารครอบครัวลดเครียด”

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

ขณะที่งานวิจัยของต่างประเทศนั้นก็พบข้อมูลคล้าย ๆ กัน โดยผลสำรวจของ The American Heart Association จากชาวอเมริกันจำนวน 1,000 คน ในปี 2565 ก็พบว่า การทานอาหารร่วมกับครอบครัวเป็นการจัดการความเครียดด้วยวิธีง่าย ๆ และส่วนใหญ่ (ร้อยละ 84.0) ต้องการให้มีมื้ออาหารร่วมกับครอบครัวบ่อยขึ้น เพราะสามารถช่วยลดระดับความเครียดได้ และนอกจากนี้ ผลการศึกษาในกลุ่มครอบครัวคนทำงานชาวชิลี ในปี 2562 ก็พบว่า การทานอาหารร่วมกันของสมาชิกในครอบครัวนั้นนอกจากช่วยลดความเครียดที่เกิดจากการทำงานแล้ว ยังส่งผลเชิงบวกต่อความพึงพอใจในงานที่เพิ่มขึ้นด้วย

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

ทำให้เกิดแนวคิด “work-life balance”

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

บริหารจัดการ “สมดุลชีวิตการทำงาน”

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

ทั้งนี้ กล่าวสำหรับผลสำรวจด้วยเครื่องมือที่มีชื่อว่า “HAPPINOMETER” เกี่ยวกับ “มื้อครอบครัวสร้างสุข” จากผลสำรวจนั้นพบข้อมูลว่า ในกลุ่มของคนทำงานร้อยละ 20 ที่พักอาศัยอยู่คนเดียว และมีโอกาสทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัวน้อย ยอมรับว่า มีปัญหาความเครียดสูง แต่ก็ยังพบประเด็นที่น่าสนใจ คือ กลุ่มตัวอย่างนี้ได้ให้ข้อมูลว่า แม้จะไม่ได้มีมื้ออาหารครอบครัว หากแต่ “มื้ออาหารกับเพื่อน ๆ” ก็สามารถ “ช่วยทำให้ความเครียดลดลงเช่นกัน” ซึ่งข้อมูลนี้ก็สะท้อนชัด

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

“มื้ออาหารร่วมกัน” นั้น “ลดเครียดได้”

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

แม้มิใช่กับครอบครัว กับเพื่อนก็ยังดี

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

ในบทความโดย สุภรต์ จรัสสิทธิ์ ยังมีการอธิบายเรื่องนี้ไว้เพิ่มเติมว่า “มื้ออาหารร่วมกัน” ไม่ว่าจะกับครอบครัว หรือแม้แต่กับเพื่อน ช่วยลดความเครียดและสร้างความสุขได้พร้อม ๆ กัน ซึ่งผลการศึกษาในต่างประเทศ เช่น ผลสำรวจของมหาวิทยาลัย Oxford ที่ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างคนอังกฤษ เมื่อปี 2559 พบว่า มื้ออาหารร่วมกันมีผลในหลายมิติ อาทิ ช่วยด้านมิตรภาพ ในแง่การกระชับความสัมพันธ์, ช่วยกระตุ้นให้หลั่งสารเอ็นดอร์ฟินส์ (Endorphins) หรือสารความสุข ซึ่งช่วยลดความเจ็บปวดและความเครียดได้ และเมื่อเทียบระหว่าง “มื้อกลางวัน” กับ “มื้อเย็น” ก็พบว่า มื้อเย็นจะมีประสิทธิภาพการสร้างความสัมพันธ์ได้ดีกว่ามื้อกลางวัน เนื่องจากบทสนทนามื้อกลางวันมักเกี่ยวกับงานเป็นส่วนใหญ่

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

“การมีมื้ออาหารกับครอบครัว หรือกับเพื่อน ๆ ไม่เพียงสร้างพลังงานให้ร่างกาย แต่ยังสร้างพลังใจให้สู้ความเครียดได้ด้วย ดังนั้น เมื่อมื้ออาหารคือยาลดเครียดที่ไม่ต้องหาซื้อ ก็น่าที่ทุก ๆ คนจะนำไปใช้จัดการความเครียดที่เกิดขึ้นได้ โดยไม่ต้องพึ่งยาช่วยคลายเครียดเสมอไป” เป็นอีกส่วนจากการระบุถึง “วิธีง่าย ๆ ลดเครียด”

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

เริ่มทำทันที หรือ “ดีเดย์ปีใหม่ก็ได้”

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

“ลดเครียด-เพิ่มสุข ด้วยมื้ออาหาร”.

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์

ทีมสกู๊ปเดลินวส์

ง่ายๆทำได้แบบอิ่มๆมื้อลดเครียดขจัดทุกข์เพิ่มเติมสุขเดลินิวส์