【ยูฟ่าเบท1】ปุจฉา ในชาในทุเรียน ‘2 สาร Yellow’ วิสัชนา ไฉนต้องใช้? | เดลินิวส์
กรณีแรกนั้นมีข่าวทางยุโรปแบนเพราะมีส่วนผสมเกินเกณฑ์กำหนด? กรณีหลังมีข่าวจีนตีกลับเพราะพบการปนเปื้อน? ซึ่ง 2 กรณีมีข่าวเกิดขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกัน โดย คนไทยไม่น้อยก็รู้สึกกังวล และก็ มีการตั้งข้อสังเกต ว่า
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์ทั้ง 2 กรณีมีคำว่า “Yellow”อยู่ด้วย??
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์ทั้งนี้ กรณี Sunset Yellow หรือ “Sunset Yellow FCF” และBasic Yellow หรือ “Basic Yellow 2” หรือ “C.I. Basic Yellow 2” นี่ก็ทำให้คนไทยตื่นตัวเกี่ยวกับ “ความปลอดภัยอาหาร” เพิ่มขึ้น โดยหลายคนก็มี “ปุจฉา” ว่า “ต่างชาติไม่เอา แล้วในไทยล่ะ?” รวมถึง“เจ้า Yellow ทั้ง 2 กรณีนี้คืออะไร?-มายังไง?”ซึ่งวันนี้ “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” ก็มีคำอธิบายโดย ผศ.ดร.อรุษา เชาวนลิขิต และ ผศ.ดร.พิสุทธิ หนักแน่น นักวิชาการ คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ซึ่งนักวิชาการ มศว ทั้ง 2 ท่านได้มีการ “ถอดรหัส” และ “วิสัชนา” มาดังต่อไปนี้
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์

ผศ.ดร.อรุษา เชาวนลิขิต / ผศ.ดร.พิสุทธิ หนักแน่น
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์เริ่มที่ “ซันเซตเยลโลว์” คืออะไร? อย่างไร? ข้อมูลคำอธิบายมีว่า ซันเซตเยลโลว์ Sunset Yellow FCF เป็น สีผสมอาหารประเภทสีสังเคราะห์ลักษณะเป็นผงสีเหลืองส้ม หรือน้ำตาลอมเหลือง เมื่อผสมในของเหลว สีจะกลายเป็นสีส้มสดใส และมีคุณสมบัติที่สามารถละลายในน้ำได้ดี จึง มีการใช้ในหลากหลายผลิตภัณฑ์ เช่น เครื่องดื่ม ขนมหวาน ไอศกรีม เยลลี่ รวมถึงชาไทย ด้วย เพื่อที่จะเพิ่มความน่าสนใจ-ดึงดูดใจ และ ตอบโจทย์ทางอุตสาหกรรม เนื่องจากสามารถควบคุมคุณภาพให้สีสม่ำเสมอได้ทุกครั้งที่ผลิต นี่เป็นคำอธิบายโดยสังเขป กับ “วัตถุประสงค์การใช้” ซันเซตเยลโลว์
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์อย่างไรก็ตาม การใช้สีผสมอาหารนี้ หรือชนิดอื่น ๆ ก็มีกฎเกณฑ์ ซึ่งในไทยก็จะต้องเป็นไปตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 444 พ.ศ. 2566 ซึ่งเป็นฉบับใหม่ล่าสุด ที่มีการกำหนดไว้เกี่ยวกับ วัตถุเจือปนทางอาหาร (Food Additives) ที่สามารถใช้ได้ ซึ่งปกติ “สีผสมอาหาร” หรือวัตถุเจือปนทางอาหารก่อนจะประกาศอนุญาตให้ใช้ได้ก็จะต้องผ่านกระบวนการที่มีการควบคุมและตรวจสอบเข้มงวด เพื่อให้มั่นใจว่าจะไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ภายใต้หลักเกณฑ์ต่าง ๆ
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์กล่าวคือ “ความปลอดภัย” โดยเฉพาะการที่ต้องไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย แม้ใช้ในปริมาณมากหรือใช้ต่อเนื่องในระยะยาวก็ตาม, “การประเมินทางวิทยาศาสตร์” เช่น การศึกษาผลกระทบทางพิษวิทยาและชีวเคมี การทดสอบเกี่ยวกับการเป็นสารก่อมะเร็ง การระคายเคือง การแพ้, “ประโยชน์ด้านการผลิตและเก็บรักษา” โดยต้องมีเหตุผลทางเทคนิคและประโยชน์ในการใช้งานที่ชัดเจน, “การควบคุมและกำหนดปริมาณ” เช่น ชนิดของวัตถุที่อนุญาต และปริมาณที่สามารถใช้ได้อย่างปลอดภัย, “ความโปร่งใสในการประกาศบนฉลาก” เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถทราบถึงสารต่าง ๆ ที่ใช้ในผลิตภัณฑ์นั้น ๆ
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์“การตรวจสอบและติดตาม” เพื่อให้แน่ใจว่าวัตถุเจือปนที่ได้รับอนุญาตยังมีความปลอดภัยสำหรับผู้บริโภคในระยะยาว, “ข้อกำหนดทางกฎหมายและข้อบังคับ” ในแต่ละประเทศ, “การพิจารณาความเสี่ยง” ที่เกิดจากการใช้ อาทิ ผลกระทบจากการบริโภคปริมาณสูงในระยะยาว ผลกระทบในกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้มีโรคประจำตัว เป็นต้น
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์“ตัวอย่างเช่น ปริมาณสีซันเซตเยลโลว์ในเครื่องดื่มที่มีนมเป็นส่วนประกอบหลัก จะอนุญาตให้ใช้เท่ากับ 70 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม หรือหากเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แต่งกลิ่นรส จะใช้ได้เท่ากับ 100 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม” ทาง ผศ.ดร.อรุษา ยกตัวอย่างกรณีนี้ กรณี “ซันเซตเยลโลว์” หรือ “Sunset Yellow FCF” ที่เมื่อเร็ว ๆ นี้มีข่าวยึดโยง “ชาไทย”
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์
ถัดมา อีก “Yellow” ที่เกิดกระแสไล่เลี่ยกัน คือ “เบสิกเยลโลว์” ซึ่งมีข่าวทางการจีนสั่งห้ามนำเข้า-ตีกลับทุเรียนจากประเทศไทย เมื่อมีการตรวจพบสีหรือสารชนิดนี้ปนเปื้อนในผลทุเรียนที่ส่งออกจากไทย เยลโลว์นี้คืออะไร? อย่างไร? ข้อมูลคำอธิบายมีว่า เบสิกเยลโลว์ Basic Yellow 2หรือ C.I. Basic Yellow 2 เป็น สีสังเคราะห์ที่มีโครงสร้างเคมีเป็นสาร Basic Dye เป็นสารเคมีที่ นิยมใช้ย้อมสีสิ่งทอ และผลิตภัณฑ์พลาสติกสีเหลืองและสีส้มสดใส มีการใช้ทั้งในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม แต่ในปัจจุบัน หลายประเทศห้ามใช้สารนี้ในอาหารเพราะมีข้อสงสัยด้านความปลอดภัย
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์กรณีการปนเปื้อนของ “เบสิกเยลโลว์” ใน “ทุเรียนไทย” ที่มีข่าวอื้ออึงเมื่อเร็ว ๆ นี้นั้น ทาง ผศ.ดร.อรุษา นักวิชาการ คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร มศว มีมุมมองว่า การปนเปื้อนที่เกิดขึ้นน่าจะเกิดจากการที่ผู้ขาย ต้องการให้ทุเรียนมีสีสดใสดึงดูดใจผู้ซื้อ? หรือไม่ก็ใช้เพื่อปกปิดสีคล้ำ ความเสียหายของทุเรียน? เนื่องจากผู้ซื้อไม่ชอบทุเรียนที่มีสีคล้ำ ที่ดูไม่น่ากิน ก็อาจมีการนำสารดังกล่าวนี้มาใช้ เพราะ ต้นทุนต่ำ ง่ายต่อการผลิต มากกว่าการใช้สารสีสังเคราะห์บางประเภท หรือสีธรรมชาติ เหมือนในอดีตที่เคยใช้ “สีเหลืองขมิ้น” นำมาย้อมเปลือกทุเรียน เพื่อให้ทุเรียนดูน่าซื้อ
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์ทั้งนี้ เหล่านี้เป็นข้อมูลโดยสังเขปเกี่ยวกับ “สารสี” ที่เกิดกระแสอื้ออึง ทั้ง “Sunset Yellow FCF” กับ“Basic Yellow 2”ที่ทาง ผศ.ดร.อรุษา เชาวนลิขิต และ ผศ.ดร.พิสุทธิ หนักแน่น นักวิชาการ มศว ได้ “ถอดรหัส” และให้ข้อมูลผ่านมาทาง “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” ส่วนประเด็น “ผลต่อสุขภาพ” ที่ก็เป็น“ข้อกังวลของคนไทย”ด้วย ก็มีการถอดรหัส-ให้ข้อมูลเช่นกัน
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์แต่ตอนนี้แจกแจงได้เฉพาะข้อมูลจำเพาะ
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์เรื่อง “ความปลอดภัยผู้บริโภค” นั้น
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์“ก็ยิ่งน่าสนใจ” ตอนหน้ามาดูกัน
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
ปุจฉาในชาในทุเรียนสารYellowวิสัชนาไฉนต้องใช้เดลินิวส์