【สล็อต89 vip】‘จะยังไง?’เมื่อก็ทำได้ ‘ใช้ AI เป็นครู’ ผู้ช่วย‘หรือแทนคน?’ | เดลินิวส์
เนื้อความข้างต้นเป็น “สถิติการใช้ AI ในไทย” ที่จัดทำโดยความร่วมมือของศูนย์ AIGC สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ETDA) กับสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ที่ได้เผยถึง “ผลสำรวจเชิงลึกของบริการดิจิทัลประเทศไทย ปี 2567” ซึ่งตัวเลขนี้สะท้อนถึงแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยี AI ของไทยให้ประยุกต์ใช้ได้จริง ตลอดจนฉายภาพให้เห็นถึง
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์“แนวโน้มการปรับตัว” ภาคส่วนต่าง ๆ
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์ฉายภาพ “ทิศทาง AI ในประเทศไทย”
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์แม้ยังไม่เต็มร้อยแต่ก็มีสัดส่วนมากขึ้น
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์เทคโนโลยี “AI” หรือ “Artificial Intelligence”หรือคำไทย “ปัญญาประดิษฐ์” นี่ปัจจุบันหน่วยงานและองค์กรด้านต่าง ๆ ในไทยเริ่ม “ปรับตัว เรียนรู้” เพื่อรองรับการนำเข้าและใช้เทคโนโลยีนี้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะใน 10 ภาคส่วน คือ การเกษตรและอาหาร, การแพทย์, ความมั่นคง, พลังงานและสิ่งแวดล้อม, บริการภาครัฐ, โลจิสติกส์-การขนส่ง, การท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์, อุตสาหกรรมการผลิต, การเงินและการค้า และรวมถึงภาคการศึกษา โดยภาคส่วนเหล่านี้ได้ให้ 3 เหตุผลหลักในการนำเทคโนโลยี AIมาใช้ คือ เพื่อบริหารจัดการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์นี่เป็น “ภาพรวม AI ของประเทศไทย”
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์รศ.ดร.จิรดา วุฑฒยากร
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์ทั้งนี้ ในจำนวน 10 ภาคส่วนที่เริ่มมีการใช้งานเทคโนโลยี “AI” นี้เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ นั้น ภาคส่วนที่ก็น่าสนใจมากคือ “ภาคการศึกษา”ที่รวมถึงการ นำมา “ใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพทักษะทางภาษา” ให้ผู้เรียน ซึ่งเรื่องนี้ก็ได้ถูกหยิบยกมาเป็นหนึ่งในหัวข้อสำคัญสำหรับอภิปรายในเวที New Directions East Asia 2024 ครั้งที่ 12 ที่จัดโดยบริติช เคานซิล ประเทศไทย ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” ซึ่งได้มีการแลกเปลี่ยนมุมมองและประสบการณ์เกี่ยวกับ การนำเทคโนโลยี AI มาใช้ และการบูรณาการ AI เข้ากับระบบการเรียนรู้ในมิติต่าง ๆ เพื่อให้เกิด “ประโยชน์”
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์ทั้งกับ “ผู้สอน” ทั้งกับ “ผู้เรียนภาษา”
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์ในการอภิปรายดังกล่าวมีมุมมองน่าสนใจ โดย รศ.ดร.จิรดา วุฑฒยากร ผู้อำนวยการสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสะท้อนไว้ว่า ไทยยังเผชิญกับความท้าทายหลาย ๆ ด้านเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยปัญหาใหญ่ปัญหาหนึ่งที่พบมาจากการที่ “ระบบประเมินผลทักษะทางภาษา” ยังคงมุ่งเน้นที่คะแนนสอบปลายทางมากเกินไป จนไปให้ความสำคัญมากกว่าที่จะเป็นการวิเคราะห์ถึงจุดอ่อนต่าง ๆ ส่งผลให้ การเรียนภาษาอังกฤษของผู้เรียนในไทยพัฒนาทักษะไม่ตรงจุดนอกจากนี้ การที่มีวัฒนธรรมและวิธีการเรียนการสอนที่ต่างกันในพื้นที่ต่าง ๆ ก็เป็นอีกปัญหาสำคัญ
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์แล้วเทคโนโลยี AI หรือปัญญาประดิษฐ์นี้จะช่วยลดจุดอ่อนในเรื่องนี้ได้อย่างไร? กับคำถามนี้ ผอ.สถาบันภาษา จุฬาฯ ได้ระบุไว้ว่า สิ่งที่ผู้สอนภาษาต้องการมากที่สุดเมื่อสอนผู้เรียนทุกคนนั้น ไม่ใช่แค่ประเด็นผู้เรียนสอบได้หรือสอบตก แต่ ผู้สอนภาษาต้องการทำให้ผู้เรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ ในด้านภาษา มากกว่า ซึ่งการประเมินผลหรือการวัดผลนั้น เป็นเพียงเครื่องมือหนึ่งที่นำมาใช้เพื่อที่ผู้เรียนภาษาจะเห็นจุดแข็ง-จุดอ่อน เพื่อจะได้รู้ว่า ด้านใดดี-ด้านใดควรปรับปรุง
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์กับการ “ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี AI”เพื่อการ “เพิ่มพูนทักษะภาษา” นักวิชาการคนเดิมระบุไว้ว่า ในยุคที่ AI เข้ามามีบทบาทในวงการการศึกษาหลายด้าน ช่วยให้ผู้สอนมีความสะดวกยิ่งขึ้นกว่าในอดีต อีกทั้งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนให้ผู้เรียนมากขึ้นด้วย แต่สถานการณ์นี้ก็ทำให้เกิดคำถามกับ AI ซึ่งก็เป็นคำถามที่เคยเกิดขึ้นคล้ายกันเมื่อราวกว่า 30 ปีก่อนในช่วงที่เริ่มมีการนำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน ที่เกิดคำถาม คอมพิวเตอร์จะมาแทนที่คนสอนหรือไม่? ซึ่งกับ AI นี้ก็เช่นกัน
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์มีคำถาม “AI จะแย่งงานมนุษย์หรือไม่?”
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์อย่างไรก็ตาม แม้ AI จะเข้ามามีบทบาทมากขึ้นในการสอนภาษาอังกฤษ แต่ทาง รศ.ดร.จิรดา ก็มองว่า แม้โลกจะก้าวล้ำมากขึ้น แต่ ครูหรือผู้สอนก็ยังจำเป็นและต้องมีอยู่ เพราะบทบาทครูไม่ได้มีแค่การสอนเท่านั้น แต่ครอบคลุมไปถึงการให้กำลังใจและวิเคราะห์ผู้เรียนด้วย ดังนั้น ส่วนตัวจึงมองว่า AI ยังไม่สามารถทดแทนครูจริง ๆ ได้ แต่ควรถูกมองเป็นผู้ช่วยมากกว่า โดย AI จะเน้นประโยชน์ในแง่การเพิ่มศักยภาพผู้เรียน ไม่ใช่การเข้ามาแทนที่ครู
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์ส่วนกรณี จะใช้ AI อย่างไรให้เกิดประโยชน์ในการเรียนภาษาอังกฤษ?ทั้งกับตัวผู้สอนและผู้เรียนภาษานั้น ทาง รศ.ดร.จิรดา ก็ระบุไว้ด้วยว่า เรื่องนี้เป็นสิ่งที่หน่วยงานต่าง ๆ ทุก ๆ ฝ่าย ต้องช่วยกัน ขณะที่ตัวครูเองก็ต้องปรับตัว ต้องเร่งพัฒนาตัวเอง ซึ่งผู้สอนสามารถนำ AI มาใช้เป็นตัวช่วยได้ เช่น นำมาช่วยออกแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน ช่วยในการตรวจแกรมม่าหรือวิเคราะห์ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ดี การขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดการส่งเสริมการใช้ AI ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้นั้น กรณีนี้ก็ จำเป็นที่ทุก ๆ ฝ่าย ทุก ๆ คน ควรที่จะต้องมาช่วยกันผลักดันให้เกิดขึ้น
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์“ก็น่าตามดู” กรณี “AI ภาคการศึกษา”
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์รวมถึงการ “ใช้ช่วยเพิ่มทักษะภาษา”
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์ไทย “ขับเคลื่อนได้เร็วได้ดีแค่ไหน?”.
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
จะยังไงเมื่อก็ทำได้ใช้AIเป็นครูผู้ช่วยหรือแทนคนเดลินิวส์