【betvisa】‘บัตรคนจน’เรื่องดี(1) ‘โฟกัส 2 ปุจฉา’ น่าคิด‘มุมวิเคราะห์’ | เดลินิวส์
ทั้งนี้ กับโครงการสวัสดิการแห่งรัฐนี้ จากการแถลงของทางรัฐบาลโดยรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องเมื่อเร็ว ๆ นี้ มีการคาดการณ์ว่า การลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐรอบใหม่ ปี 2568 น่าจะมีผู้ลงทะเบียนเกือบ 25ล้านคน แบ่งเป็นผู้ที่มีสิทธิอยู่เดิม 14.5 ล้านคน และผู้มีสิทธิกลุ่มใหม่ที่ยังไม่เคยได้รับสิทธิอีก 10 ล้านคน
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์นี่เป็นอัปเดทล่าสุดกรณี “บัตรคนจน”
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์อีกหนึ่งโครงการ “เพื่อผู้มีรายได้น้อย”
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์ที่ก็ “มีคนไม่น้อยจำเป็นต้องพึ่งสิทธินี้”
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์ว่าด้วยเรื่องโครงการ “บัตรคนจน”กับเรื่องนี้ รัฐบาลปัจจุบันก็มีนโยบายปรับปรุงพัฒนา ซึ่งก็มีประเด็นน่าสนใจที่นักวิชาการ สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ และ ธนาคารแห่งประเทศไทย เผยแพร่ไว้ผ่านการจัดทำบทวิเคราะห์เกี่ยวกับเรื่องนี้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชุดบทความ “บัตรคนจน” ที่ประกอบด้วย 2 บทความย่อย คือ “บัตรคนจนคัดกรองคนจนได้ดีแค่ไหน?” และ “เราจะปรับโครงการบัตรคนจนให้ดีขึ้นได้อย่างไร?”โดยทีมผู้จัดทำบทวิเคราะห์ ประกอบด้วย ดร.ธนิสา ทวิชศรี, ดร.พิทวัส พูนผลกุล และ ธนพล กองพาลี ซึ่งทาง “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” จะสะท้อนต่อข้อมูลในวันนี้
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์เรื่องนี้เกี่ยวพันคนเป็นสิบ ๆ ล้านคน
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์แง่มุมจากแหล่งดังกล่าว “ก็น่าพินิจ”
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์ดร.ธนิสา ทวิชศรี / ดร.พิทวัส พูนผลกุล / ธนพล กองพาลี
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์ในบทวิเคราะห์บทความแรกที่มีชื่อหัวข้อว่า “บัตรคนจนคัดกรองคนจนได้ดีแค่ไหน?” ทางทีมผู้จัดทำได้สะท้อนไว้ โดยสังเขปมีว่า มีการนำกรอบคิดทางเศรษฐศาสตร์มาใช้เพื่อออกแบบและประเมินประสิทธิภาพ “โครงการบัตรคนจน” ที่ก็เป็น นโยบายเงินให้เปล่า (cash transfers) ลักษณะหนึ่ง เพื่อสร้างความคุ้มครองทางสังคมและเพื่อแก้ปัญหาความยากจนเฉพาะหน้า โดยใช้การวิเคราะห์ประสิทธิภาพโครงการนี้บนฐานข้อมูล SES ซึ่งมีข้อมูลที่จำเป็นในการวิเคราะห์ 3 ส่วน
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์หนึ่ง “ข้อมูลคุณลักษณะหลายประการ” ที่ตรงคุณลักษณะ เกณฑ์บัตรคนจน เพื่อประเมินว่าใครมีคุณสมบัติเข้าเกณฑ์?-ไม่เข้าเกณฑ์? สอง “ข้อมูลผลประโยชน์จริงที่ได้” จากโครงการนี้ เฉพาะรอบการสำรวจปี 2564 และ 2566 เพื่อประเมินว่า ใครที่ได้รับสิทธิจากบัตรคนจนบ้าง?สาม “ข้อมูลการบริโภค” เพื่อใช้เป็น ตัวชี้วัดระดับความยากจน
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์นี่เป็นข้อมูลที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์นี้
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์อย่างไรก็ดี แต่รายละเอียดของโครงการบัตรคนจน และข้อมูลใน SES ก็มีความแตกต่างกันบางประการ จึงต้องมีการใช้ข้อสมมติในการปรับข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์ และเนื่องจาก SES มีการสำรวจในระดับครัวเรือน บทความนี้จึง แปลงข้อมูลระดับครัวเรือนมาเป็นระดับบุคคลเพื่อให้สอดคล้องกับบางเกณฑ์ของโครงการ โดยคำนวนจำนวนบัตรคนจนต่อครัวเรือนจากผลประโยชน์รวมที่แต่ละครัวเรือนได้จากโครงการนี้ และนำมาหารด้วยค่าเฉลี่ยสิทธิประโยชน์ที่ผู้ถือบัตรแต่ละคนได้รับต่อปี นอกจากนี้ยังสมมติให้สมาชิกทุกคนในครัวเรือนเดียวกันมีค่าคุณสมบัติเท่ากัน
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์นี่เป็นเงื่อนไขที่กำหนดในการวิเคราะห์
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์เพื่อวิเคราะห์ “ประสิทธิภาพโครงการ”
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์ในบทความเดิมยังระบุว่า การวิเคราะห์นี้ได้สร้างกรอบการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของ โครงการบัตรคนจน ของไทย โดยประเมินจากสาเหตุ 3 ประการ ที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนได้ คือ 1.การตั้งเกณฑ์คุณสมบัติที่ไม่สอดคล้องกับคุณสมบัติของคนจน (design error) 2.การไม่สามารถคัดกรองคุณสมบัติได้อย่างแม่นยำ (screening error) 3.การคัดกรองแล้วให้สิทธิประโยชน์เป็นเวลาหลายปีโดยไม่มีการคัดกรองซ้ำ (time-lag error) ซึ่งนี่ เป็นสาเหตุความคลาดเคลื่อนที่สามารถเกิดขึ้นได้ ในแต่ละขั้นตอน หรือช่วงเวลาโครงการ ตั้งแต่ออกแบบ คัดกรอง และช่วงที่ใช้บัตรไประยะหนึ่ง
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์ทั้งนี้ ในช่วงท้ายบทความบทวิเคราะห์เดิมทางผู้จัดทำยังได้ระบุไว้ว่า จากการสร้างกรอบเพื่อวิเคราะห์โครงการบัตรคนจน โดยประเมินด้วยข้อมูล SES และข้อสมมติบางประการ เพื่อให้เปรียบเทียบข้อมูล SES กับเกณฑ์ของโครงการได้ ซึ่งมีเป้าหมายที่จะ “ตอบคำถาม” ที่ว่า “ผู้ถือบัตรคนจนยากจนจริงหรือไม่??”ก็พบข้อสรุปเบื้องต้นดังนี้คือ
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์หนึ่ง โครงการมีการตั้งเกณฑ์คุณสมบัติที่สัมพันธ์กับการบริโภคที่สูงกว่าเส้นความยากจนถึง 3 เท่า จึงอาจไม่ได้ออกแบบเพื่อให้เงินกลุ่มคนยากจนเท่านั้น, สอง เมื่อกำหนดเกณฑ์คุณสมบัติแล้ว มีการคัดกรองที่ไม่ตรงคุณสมบัติที่ตั้งไว้อยู่บ้างในเกณฑ์ของรายได้-สินทรัพย์การเงิน, สาม การที่ให้สิทธิประโยชน์ต่อเนื่องหลายปีโดยไม่ได้คัดกรองใหม่ ไม่ได้คำนึงการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของผู้ถือบัตร ก็มีแนวโน้มที่ผู้ถือบัตรจะมีรายได้เกินเกณฑ์เมื่อเวลาผ่านไป ส่งผลให้เกิดปัญหารั่วไหลมากขึ้น หากไม่มีการคัดกรองซ้ำ นี่เป็น “ข้อสรุปที่พบ” โดยสังเขป ขณะที่ก็มีข่าวว่า รัฐบาลปัจจุบันก็จะปรับปรุงพัฒนา
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์“บัตรคนจน” ก็แน่นอนว่า “โครงการดี”
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์หาก “พัฒนาให้รัดกุมยิ่งขึ้นก็ย่อมดี”
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์และก็มีข้อเสนอ ตอนหน้ามาดูกัน
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
บัตรคนจนเรื่องดีโฟกัสปุจฉาน่าคิดมุมวิเคราะห์เดลินิวส์