【ทางเข้า88ktab】JPY Carry Trade ปั่นป่วนตลาดการเงิน – THE STANDARD

ต้นเดือนที่ผ่านมา JPY Carry Trade กลายเป็นเรื่องใหญ่ที่นักลงทุนทั้งในและนอกตลาดการเงินให้ความสนใจอย่างมาก

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

เพราะเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม เงิน JPY แข็งค่าเร็วผิดปกติ จากระดับ 150 JPY/USD ลงไปแตะจุดต่ำสุดที่ 142 JPY/USD ในวันทำการถัดมา กดดันตลาดหุ้นญี่ปุ่นร่วงลงลึกกว่า 20% หรือเข้าสู่ Bear Market ภายใน 2 วัน แรงและเร็วที่สุดในรอบ 37 ปี

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

แม้ล่าสุดตลาดจะฟื้นตัวขึ้นมาได้บ้างแล้ว และค่าเงิน JPY กลับขึ้นมาเคลื่อนไหวในแดนอ่อนค่า แต่ผมเชื่อว่าความผันผวนที่เกิดจาก JPY Carry Trade เป็นแค่จุดเริ่มต้น นักลงทุนทุกคนควรทำความเข้าใจปัญหา ทางออก และเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้นต่อจากนี้

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

คำถามเบื้องต้นที่ควรหาคำตอบคือ “ทำไมต้อง Carry Trade และทำไมต้องเป็นญี่ปุ่น”

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ผมมองว่าช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมามี 2 ปัจจัยหลักที่ทำให้นักลงทุน (โดยเฉพาะญี่ปุ่น) ลงทุนมากผิดปกติ 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

เรื่องแรก การลงทุนในสินทรัพย์ปลอดภัยและสินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลกทำผลตอบแทนดีมากหลังวิกฤต โดยเฉพาะอย่างยิ่งหุ้นสหรัฐฯ และหุ้นญี่ปุ่น

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

Carry Trade เกิดจากดอกเบี้ยต่ำ ไปลงทุนผลตอบแทนสูง

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ย้อนกลับไปตั้งแต่วิกฤตโควิด ธนาคารกลางทั่วโลกใช้นโยบายดอกเบี้ย 0% เพื่อพยุงเศรษฐกิจ สินทรัพย์ลงทุนได้รับแรงหนุน ราคาฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว พร้อมกับการทำ Carry Trade ที่เพิ่มขึ้น

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ในประเทศฝั่งตะวันตก ธุรกรรม Carry หมดไป เมื่อธนาคารกลางอย่าง Fed และ ECB ขึ้นดอกเบี้ยรับมือกับปัญหาเงินเฟ้อ แต่ฝั่งญี่ปุ่นเงินเฟ้อกลับสูงขึ้นช้า BOJ จึงเลือกคงนโยบายการเงินผ่อนคลายต่อ

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

เกิดเป็นความต่างของดอกเบี้ย ส่งผลให้เงิน JPY อ่อนค่าต่อเนื่อง นักลงทุนญี่ปุ่นไม่ลดสถานะ Carry Trade แม้จะขาดทุนจากบอนด์ต่างประเทศ แต่ก็มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนและตลาดหุ้นต่างประเทศมาช่วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ PGIF หรือกองทุนบำนาญญี่ปุ่นที่ทำผลตอบแทนในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาสูงกว่า 2 ทศวรรษก่อนหน้ารวมกัน

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ต่อมา เงินเฟ้อปรับตัวขึ้นในที่สุด แต่ดอกเบี้ยกลับปรับตัวขึ้นช้า ทำให้ Real Interest Rate ติดลบ นักลงทุนญี่ปุ่นไม่ฝากเงิน แต่เลือกเก็งกำไรสินทรัพย์ในประเทศ

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ระลอกที่สอง นักลงทุนญี่ปุ่นที่ไม่ได้ลงทุนต่างประเทศเพราะ JPY อ่อนยิ่งต้องหาทางเก็งกำไรสินทรัพย์ในประเทศ สิ่งที่ BOJ ไม่ทันระวังคือเงินเฟ้อสูง ทำให้ราคาสินทรัพย์ปรับตัวขึ้น เร่งธุรกรรม Carry Trade ในประเทศไปพร้อมกัน

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ทั้งสองเรื่องนี้ทำให้ JPY Carry ก่อตัวขึ้นจนกลายเป็นต้นกำเนิดของความผันผวนขนาดมหึมา

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

คำถามต่อมาคือ “ทำไมต้องมีปัญหาตอนนี้”

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ไล่เหตุผลย้อนกลับ การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในหลายจุด

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

อย่างแรก BOJ ที่เริ่มขึ้นอัตราดอกเบี้ยล่าสุดขึ้นมาที่ระดับ 0.25%

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

แม้ในทางทฤษฎี การขึ้นดอกเบี้ยเพียงเล็กน้อย ไม่ควรมีผลกับการลงทุน แต่ครั้งนี้เกิดขึ้นในช่วงที่ตลาดมีการทำ JPY Carry Trade ในปริมาณสูง ตามติดมาด้วยการรายงานตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ชะลอตัวเร็วผิดปกติ ทำให้เกิดแรงขายหุ้นโลกพร้อมกัน 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

เมื่อนักลงทุนญี่ปุ่นขายหุ้นสหรัฐฯ และแลกเงินกลับ แรงกดดันก็มาตกที่เงิน JPY เมื่อ JPY แข็งค่าก็กดดันหุ้นในประเทศจนนักลงทุนฝั่งญี่ปุ่นก็ต้องขายตามไปด้วย วนไปจนตลาดปรับตัวลงอย่างหนักอย่างที่เห็น

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

สอง เงินเฟ้อที่เข้าสู่สมดุลใหม่ และ Carry Trade ที่มากเกินไป ทำให้ BOJ จำเป็นต้องปรับดอกเบี้ยนโยบายขึ้น

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

แม้ล่าสุด BOJ จะส่งสัญญาณว่าจะไม่มีการขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่ตลาดมีความผันผวนสูง แต่ในระยะยาว เห็นได้ชัดว่าการปล่อยดอกเบี้ยให้ต่ำในช่วงที่มีเงินเฟ้อเร่งการเก็งกำไร ไม่ต่างกับการเติมเชื้อไฟกลับให้กับ Carry Trade ที่มีปริมาณมากอยู่แล้วในปัจจุบัน

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

เมื่อตอนนี้ถึงจุดที่เงินเฟ้อทรงตัว และการเก็งกำไรสูงจนเป็นปัญหาแล้ว ก็ถึงเวลาที่ควรหาทางออกจากนโยบายดอกเบี้ยต่ำผิดปกติให้ได้

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

คำถามสุดท้าย “การ Unwind JPY Carry Trade เหลืออีกเท่าไร จะเป็นอย่างไรต่อ และควรมองเป็นโอกาสหรือความเสี่ยง”

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

Fed สาขาเซนต์หลุยส์ และ IMF เคยประเมินว่าธุรกรรม JPY Carry Trade อาจมีขนาดสูงถึง 20 ล้านล้านดอลลาร์ หรือ 500% ของ GDP ญี่ปุ่น แบ่งออกเป็นพันธบัตรรัฐบาลราว 12 ล้านล้านดอลลาร์ และสินทรัพย์ที่ญี่ปุ่นลงทุนราว 8 ล้านล้านดอลลาร์

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ฝั่งพันธบัตรรัฐบาล การลดสถานะหลักทำได้โดยการขึ้นดอกเบี้ย ฝั่งที่ได้ประโยชน์คือธนาคารญี่ปุ่นที่มีทุนสำรองและปล่อยกู้ได้ ส่วนความเสี่ยง คือเศรษฐกิจญี่ปุ่นที่อาจชะลอตัวลงจากภาระดอกเบี้ยจ่ายของรัฐและการออมที่สูงขึ้นของครัวเรือน

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ส่วนในฝั่งสินทรัพย์ต้องจับตาไปที่สถาบันการเงินหลักของญี่ปุ่นทั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพและบริษัทประกัน ว่าจะลดการลงทุนต่างประเทศลงแค่ไหน

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ประเมินจากการถือครองในปัจจุบัน คาดว่าสถาบันการเงินญี่ปุ่นลงทุนสินทรัพย์เสี่ยงในต่างประเทศ 30% ของสินทรัพย์ หรือราว 2 ล้านล้านดอลลาร์ 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ระยะสั้น ควรเห็นการป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ยีลด์ญี่ปุ่นปรับตัวขึ้น หลังจากนั้น ผมคาดว่าจะเห็นสัดส่วนการลงทุนต่างประเทศที่ทยอยลดลง กดดันหุ้นโลก หนุนให้ JPY แข็งค่า

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ทั้งหมดชี้ว่าการลดสถานะ JPY Carry Trade ไม่ใช่จุดจบแต่เป็นแค่จุดเริ่มต้นครับ

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

 

ปั่นป่วนตลาดการเงิน

ปั่นป่วนตลาดการเงินสามารถติดตาม THE STANDARD WEALTH
ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ ที่คุณสะดวกหรือใช้งานอยู่แล้วได้เลยFacebookTwitter XInstagramLine OABlockditYoutubeTikTok